Page 187 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 187

แตกต่างนี่นะ จึงเป็นสิ่งสาคัญ
เพราะฉะนั้นการกาหนดรู้นะ เมื่อไหร่ก็ตาม ที่เรามีเจตนาตามกาหนดรู้อาการเกิดดับของเวทนา จึงเรียกว่าเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ใช้ได้ทั้งในอิริยาบถหลัก คือขณะยืน ขณะเดิน ขณะนั่ง หรือนอน แม้แต่อิริยาบถย่อยที่มีการเดิน การเคลื่อนไหวไป แล้วเวทนาส่วนไหนเกิดขึ้นมา ที่มีอาการเด่นชัดขึ้นมา ก็สามารถเข้าไปกาหนดรู้ ถึงการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไปของเวทนานั้น ๆ ได้เช่นเดียวกัน สามารถเอามาเป็น อารมณ์กรรมฐานได้ทันที เอามาเป็นอารมณ์วิปัสสนาได้ทันที
นั่นคืออยู่ที่เจตนาของผู้ปฏิบัติว่า จะมีเจตนาเอาอารมณ์นั้น ๆ มาเป็นอารมณ์กรรมฐาน เพื่อความ ต่อเนื่องในการปฏิบัติของตนมากน้อยแค่ไหน นี่คือการดูกายในกาย รู้เวทนาในเวทนา หรือตามรู้กายานุ- ปสั สนาสตปิ ฏั ฐาน เวทนานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน แลว้ จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐานนนั้ เปน็ อยา่ งไร จติ ตานปุ สั สนา- สติปัฏฐาน คืออาการทางจิตที่เกิดขึ้น อย่างหนึ่ง เป็นลักษณะของตัวจิตเอง อย่างหนึ่ง ที่กาลังปรากฏเกิด ขึ้น ที่กาลังทาหน้าที่อยู่
เพราะฉะนั้นในที่นี้ จะขอแยกเป็น ๓ ส่วน หนึ่ง ลักษณะของจิต การดูจิต คือจิตที่คิด ที่มีความคิด ต่าง ๆ ที่ปรากฏขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของอดีตหรืออนาคตก็ตาม นั่นคือกาลังคิด ความคิดที่กาลังปรากฏ เกดิ ขนึ้ ไมว่ า่ จะเรยี กเปน็ ตวั สงั ขารการปรงุ แตง่ หรอื ไม่ หรอื เปน็ แคค่ วามคดิ ปรากฏขนึ้ มาเฉย ๆ ผดุ ขนึ้ มาให้ รับรู้ แล้วก็หายไปก็ตาม ตรงนี้คือเรียกเป็นการดูจิต เมื่อมีเจตนาตามรู้อาการทางจิตที่เกิดขึ้น ตามกาหนด รู้อาการทางจิตที่เกิดขึ้น ก็เป็นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ทนี แี้ ยกเปน็ ๓ สว่ น กค็ อื วา่ จติ ตานปุ สั สนาสตปิ ฏั ฐาน คอื การตามกา หนดรอู้ าการเกดิ ดบั ของความ คิดอย่างหนึ่ง ตรงนี้เขาเรียกว่าตามกาหนดรู้ ตามดูจิตในจิต ดูอาการเกิดดับของความคิด ที่กาลังปรากฏ เกิดขึ้นมา ว่ามีความเปลี่ยนแปลงเกิดดับอย่างไร อันนี้เป็นจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน
อีกอย่างหนึ่ง ลักษณะของจิต จิตที่มีความ...ลักษณะของสภาพจิตที่เรียกว่ามีจิต มีความสงบ มี ความเบา มคี วามสขุ มคี วามขนุ่ มวั มคี วามผอ่ งใส มคี วามตงั้ มนั่ มคี วามเบกิ บานขนึ้ มา ตรงนเี้ รยี กวา่ สภาพ จิต ซึ่งอย่างที่พูดไปแล้วเมื่อกี้นี้ ก็เหมือนกับเป็นเวทนาทางจิตอย่างหนึ่ง แต่นั่นคือเป็นลักษณะที่เรียกว่า สภาพจิต คือสิ่งที่จิตกาลังเป็นอยู่ ณ ขณะนั้น ๆ เป็นจิตที่สงบ เป็นจิตที่ว่าง จิตที่เบา จิตที่ผ่องใส จิตที่อิ่ม จิตที่ตื่นตัว จิตที่ตั้งมั่นนะ หรือจิตที่สะอาด อันนี้คือลักษณะของจิต ที่เมื่อเกิดขึ้นแล้ว โยคีพึงใส่ใจเข้าไป กาหนดรู้ และจิตดวงนี้เป็นผลอย่างหนึ่ง ผลจากการกาหนดรู้อารมณ์ปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง
การกา หนดรอู้ าการพระไตรลกั ษณ์ ของอาการทางกาย ของเวทนา หรอื แมแ้ ตค่ วามคดิ เอง ทมี่ คี วาม เปลี่ยนแปลง มีการเกิดดับไป ก็จะทาให้ผลที่เกิดขึ้นมา ก็คือลักษณะของสภาพจิตใจที่เปลี่ยนไป เปลี่ยน เป็นสงบ เป็นความตั้งมั่น เป็นความผ่องใส เป็นความสว่าง เป็นความสะอาดเกิดขึ้นมา จึงเรียกว่าสภาพ จิต ๆ อันนี้ บางทีเมื่อไม่มีอาการ บางครั้งบางขณะ ไม่มีอาการทางกาย ไม่มีเวทนา ไม่มีความคิด มีแต่จิต ที่สงบ มีแต่จิตที่ผ่องใส มีแต่จิตที่ตั้งมั่น มีแต่จิตที่สว่าง นี่คือเมื่อเป็นแบบนี้จะทาอย่างไร
495


































































































   185   186   187   188   189