Page 20 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 20

328
ถา้ จติ เรายงั รสู้ กึ เบา ๆ สงั เกตอาการแขง็ ๆ เองวา่ ตา แหนง่ ไหนบา้ งทเี่ ขามกี ารเปลยี่ นแปลง ตา แหนง่ ไหนบ้างที่มีการเคลื่อนไหว ให้ไปรู้ตรงนั้นสบาย ๆ เข้าไปรู้แล้วอาการแข็ง ๆ นิ่ง ๆ ที่เป็นก้อน เขาก็จะ ค่อย ๆ เปลี่ยน เพราะเขาเป็นของไม่เที่ยง ตั้งอยู่ในกฎของไตรลักษณ์ เพราะฉะนั้น ไม่ต้องไปกังวล นั่นคือ ลกั ษณะของธาตอุ ยา่ งหนงึ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ แคเ่ ขา้ ไปกา หนดรู้ รู้ รู้ ร.ู้ .. แลว้ เขากจ็ ะเปลยี่ นไปเอง นนั่ คอื สภาวธรรม ที่เกิดขึ้น สภาวธรรมจึงกลายเป็นอาการของธาตุสี่หรือธาตุหกหรืออาการของรูปนามนั่นเอง และที่เราเห็น อย่างนั้นได้ เพราะกาลังของสติ สมาธิ และปัญญามีความแก่กล้าหรือแยบคายมากขึ้น จิตเราละเอียดขึ้น ก็จะเห็นสภาวะที่ละเอียดขึ้นไปอีก
เหมือนลมหายใจหรือพองยุบของเรา จากที่เคยเป็นก้อน สังเกตต่อไป เขาก็เปลี่ยนอีก เขาจะ ไม่เหมือนเดิม จากที่เป็นเส้น พอใส่ใจ/ตั้งใจกาหนดรู้ จากเป็นเส้นเขาก็เปลี่ยนไปอีก นี่คือความไม่เที่ยง เป็นไปตามกาลังของสติ สมาธิ และปัญญาของเรา สภาวะที่เราเห็นที่บอกว่ามันพิสดารมาก ๆ นี่ ทาไม มันละเอียดได้ขนาดนี้ ทาไมสว่างได้ขนาดนี้ ทาไมมัน...โอ้โห พิสดารได้ขนาดนี้!? ที่(เห็นว่า)เขาพิสดารนี่ สภาวะอาการของรูปนามเขามีอยู่แล้ว แต่สติ สมาธิ และปัญญาของเรามีความแก่กล้าที่จะเข้าไปเห็นเขา ได้ละเอียดมากน้อยแค่ไหน เพราะฉะนั้น การปฏิบัติธรรมเราจึงเพียรที่จะรู้ถึงการเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไปอยู่ เ น อื ง ๆ ส งั เ ก ต อ า ก า ร ท เี ่ ก ดิ ข นึ ้ ม า ว า่ เ ป ล ยี ่ น แ ป ล ง ไ ป อ ย า่ ง ไ ร ใ ส ใ่ จ ม า ก ข นึ ้ เ ร อื ่ ย ๆ เ ข า ก จ็ ะ พ ฒั น า ม า ก ข นึ ้ เ ร อื ่ ย ๆ
ว ธิ เี พ มิ ่ ป ญั ญ า ใ น ก า ร พ จิ า ร ณ า อ า ก า ร พ ร ะ ไ ต ร ล กั ษ ณ ์ ค อื ก า ร ท เี ่ ร า ม สี ต เิ ก า ะ ต ดิ ไ ป ก บั อ า ก า ร เ ก ดิ ด บั ของทุก ๆ อารมณ์ พร้อมกับสังเกตว่าเขาเปลี่ยนไปอย่างไร การที่เราใส่ใจ “เกาะติดไปกับทุก ๆ อารมณ์” สติเราจะอยู่กับปัจจุบัน การที่เราใส่ใจสังเกตว่า “เขาเปลี่ยนไปอย่างไร” จิตเราจะละเอียดขึ้น ปัญญาเรา จะเห็นถึงความแตกต่างของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น เห็นว่าเขามีความต่างออกไปเรื่อย ๆ แล้วเราจะเห็นถึง ความพิสดารของรูปนามนี้ที่มีการเปลี่ยนแปลง และที่พิสดารที่สุดก็คือ “ปัญญาของเราเอง” ที่เราคิดว่าเรา ไมส่ ามารถเหน็ ได้ คนอนื่ เขาเหน็ ละเอยี ดจงั เราคงไมม่ ปี ญั ญา อยา่ มองขา้ มปญั ญาของตวั เอง อยา่ มองขา้ ม ความสามารถของตัวเอง ให้ทาหน้าที่ของเราให้ดี ใส่ใจอย่างดี แล้วเราจะเห็นว่า อ๋อ! สภาวะเขาเปลี่ยนไป อย่างไร นี่แหละเวลาปฏิบัติธรรม ให้สังเกตแล้วก็ใส่ใจ
ทสี่ า คญั เลย ตอ้ งมเี จตนา เพราะเจตนาคอื ตวั กรรม ถา้ เราไมม่ เี จตนา จะเรยี กวา่ มาเจรญิ กรรมฐาน ไ ห ม ? ค ง ไ ม เ่ ร ยี ก ว า่ เ จ ร ญิ ก ร ร ม ฐ า น น ะ ค ง เ ร ยี ก ว า่ ต า ม ย ถ า ก ร ร ม ถ า้ เ ร า ไ ม ม่ เี จ ต น า ก ค็ อื ป ล อ่ ย ต า ม ย ถ า ก ร ร ม อะไรจะเกิดก็เกิด อะไรจะมาก็มา อะไรจะไปก็ไป แล้วแต่เขา... แต่ถ้าเรามีเจตนาที่จะกาหนดรู้ถึงการเกิด ขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป นี่แหละการเปลี่ยนจิตเรา ยิ่งเราเห็นความจริงของรูปนามชัดมากเท่าไหร่ ความเข้าใจใน ธรรมะจะมากขึ้นเท่านั้น การที่จิตเราคลายจากอุปาทานการยึดติดกับสิ่งรอบตัว เราก็จะเห็นชัดมากขึ้นว่า เราปล่อยวางได้มากขึ้นแค่ไหน การยึดติดของเราลดลงมากแค่ไหน จากการเห็นอาการพระไตรลักษณ์
เพราะโดยธรรมชาติของจิตเรา มักจะยึดในสิ่งที่คิดว่าเที่ยง มักจะยึดในสิ่งที่คิดว่าเป็นของถาวร เพราะฉะนั้น เราจะรู้สึกว่าอยากให้เขาอยู่อย่างนั้นนาน ๆ พอเขามีการเปลี่ยนแปลงก็จะรู้สึกว่า โอ! แย่แล้ว ไอ้สิ่งที่เราชอบก็อยากให้อยู่นาน ๆ ไอ้ที่ไม่ชอบก็อยากให้ไปไว ๆ ไอ้ที่อยากให้อยู่นาน ไม่อยู่ ก็ทุกข์ อยาก


































































































   18   19   20   21   22