Page 79 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 79

387
ความเด็ดขาดกับตัวเอง มีความเด็ดขาด ไม่ใช่ว่าปล่อยเรื่อย ๆ ๆ ไป เราก็คิด ก็คิด อยากดู เคลิบเคลิ้ม เพลิดเพลินกับความคิด แต่ถ้ามีความเด็ดขาดแบบนี้เขาก็จะหยุด อันนี้ก็เหมือนกัน
ถ้าพูดถึงกิเลสความโกรธ ความโลภ ความหลง ความไม่พอใจ เกิดสิฉันจะดู ลองดูสิว่าความไม่ พอใจ หน้าตา...มันจะอยู่นานแค่ไหน ฉันจะไม่ทาตาม ไม่พอใจตามมัน เป็นผู้ดูปึ๊บ มันจะดับฟึ่บเลย มัน กลัว พอเริ่มจะไม่พอใจ สังเกตรู้ทัน มันจะเริ่ม ตัวโทสะเริ่มเกิด รู้ทันแล้วนะ ดับฟึ่บเลย อายุมันสั้นมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่โทสะผุดขึ้นมา เป็นของฉัน ๆ กลายเป็นว่า กิเลสมายึดตัวนี่นะเป็นของเรา เพราะความไม่รู้ จงึ ยดึ เอาอกศุ ล เอาโทสะนะเปน็ ตวั เอง ตอ่ ไป...ตวั เองไมเ่ ปน็ ตวั ของตวั เองแลว้ โทสะกลายเปน็ ตวั เอง ไมใ่ ช่ สติแล้ว มันก็กลายเป็นปัญหาตามมา
สังเกตดู เพราะกิเลสตัวนี่นะ โทสะนี่นะเป็นจิตดวงหนึ่ง ที่เกิดผุดขึ้นมาทาหน้าที่ ที่เขาตั้งอยู่นาน เพราะเขาเสวยอารมณ์ใหม่ ๆ ๆ มีเชื้อใหม่ ๆ เข้ามา แล้วก็แน่นขึ้น ๆ มีพลังงานมากขึ้น เหมือนจิตของ เราที่เป็นจิตกุศลนี่นะ พอเราขยายให้กว้าง ก็จะมีกาลังมากขึ้น แต่ถ้าเป็นอกุศลจิต ยิ่งแคบก็ยิ่งมีกาลัง มากขึ้น ๆ แต่พอขยายกว้างเมื่อไหร่ อกุศลจะตั้งอยู่ไม่ได้ ก็จะพยายามที่จะหลุด ๆ ๆ ไป ร่วงไป ๆ เพราะ รู้ทัน เขาดับ ถ้าเราเข้าใจถึงลักษณะของวิถีจิต การทางานของจิต จิตดวงหนึ่งเกิดขึ้นมา รับรู้อารมณ์เดียว ก็ดับ โทสะก็เกิดขึ้นมารู้เรื่องหนึ่งก็ดับ ขึ้นมาใหม่ก็ดับ ขึ้นมาใหม่ก็ดับ
แต่พอไม่สนใจอาการเกิดดับของวิถีจิต มันก็เลยโกรธ ๆ แล้วก็บวก ๆ ๆ ไม่พอใจ บวก ๆ ขึ้น กลายเปน็ กลมุ่ กอ้ น แลว้ เราจะเหน็ วา่ ตรงไหน เปน็ พลงั งานของความรสู้ กึ ทไี่ มด่ ี กลายเปน็ กลมุ่ กอ้ นมาแนน่ ตรงนี้ แน่นจุกอก ใช่ไหม แล้วก็มาแน่น ๆ เป็นก้อนแล้วคลุม ยิ่งคลุมกว่าเราห่อหุ้มตัวเมื่อไหร่...เสร็จ อันนี้นะกว่าจะสลายได้ ถ้าตั้งสติแยกแล้วนี่นะ เป็นสติกาหนดรู้ ถึงแม้จะมีบรรยากาศทึบ ๆ คลุมอยู่ ร้อน ๆ ห่อหุ้ม เร่าร้อนอยู่ข้างนอก แต่ถ้าตั้งสติ มีสติปึ๊บ เห็นความเร่าร้อนกับตัวรู้แยกกันเมื่อไหร่ แค่นิด เดียวแยกกันแล้ว มารู้ตัวรู้อย่างเดียว นิดหนึ่ง ๆ ที่ร้อน ๆ นี่นะที่คลุมอยู่ พอมันดับ ตัวรู้ดับ จิตรู้ดับนี่นะ มันไม่มีที่อาศัยเหมือนกัน กลายเป็นว่าตัวรู้นี่นะดับปึ๊บ ที่ร้อนคลาย ดับปึ๊บร้อนคลาย ดับปึ๊บ ที่ร้อนอยู่มัน คลาย ๆ ๆ ก็จะค่อยเบาไป
แสดงว่าตัวรู้นี่นะเป็นที่อาศัย ตัวรู้ตัวนี่นะ รู้อย่างมีตัวตน ก็จะเป็นที่ยึดเกาะของอกุศล ถ้าตัวรู้นี้ ดบั ไป ความเปน็ ตวั ตนลดลง ๆ ปบ๊ึ นนี่ ะ เขาดบั เรว็ ๆ อกศุ ลกล็ ดไป นอ้ ยไป เพราะฉะนนั้ การเจรญิ กรรมฐาน นี่นะ การแยกรูปนาม การพิจารณาตรงนี้ จะเห็นถึงธรรมชาติของรูปนามขันธ์ ๕ ที่ทาหน้าที่อยู่ และการเห็น อาการเกิดดับตรงนี้ ตรงที่เราเห็นนี่นะ เกิดดับ อารมณ์นั้นดับไป ๆ อารมณ์นั้นจะเป็นปัจจัยให้การทากรรม สร้างกรรมทางกายกรรม วจีกรรม มโนกรรมนี่นะ มันสั้นลง พอรู้แล้วดับ ๆ มันจะปรุงแต่งต่อก็ดับ กลาย เป็นตัดกรรมไปในตัว ป้องกันตัวเองไปในตัว ต้องทาบ่อย ๆ นะ ทาให้ต่อเนื่อง แล้วเราก็จะได้
ทีนี้ ต่อจากอันนี้ อาจารย์พูดมา ส่วนใหญ่เป็นอารมณ์หยาบ ๆ ทั้งนั้นเลย ต้องการให้ทบทวน พ จิ า ร ณ า ว า่ ค ว า ม ส า ค ญั ข อ ง ธ ร ร ม ะ ท เี ่ ร า ป ฏ บิ ตั ิ ท เี ่ ร า แ ย ก ร ปู น า ม ไ ด เ้ ห น็ ถ งึ ค ว า ม ว า่ ง ไ ด ้ ร ถ้ ู งึ ค ว า ม ไ ม ม่ ตี วั ต น นั้น เพียงแต่เราพิจารณาบ่อย ๆ ให้เอาธรรมะนี่นะเป็นตัวตั้ง เป็นที่พึ่ง แล้วก็มีสติสมาธิปัญญา พิจารณา


































































































   77   78   79   80   81