Page 80 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การพิจารณาสภาวธรรม
P. 80
388
ถึงกฎของไตรลักษณ์ไป แต่เมื่อถึงปัจจุบัน มาถึงการปฏิบัติต่อไป ต่อจากนี้ ที่เราเดินทาง การเดินทางที่ไป สู่เป้าหมายข้างหน้านี่นะ
ทุกครั้งที่เจริญกรรมฐาน ให้ทาให้จิตว่างก่อนแล้วนิ่ง รู้อารมณ์ปัจจุบันที่ปรากฏอย่างเดียว นิ่งแล้ว รู้อารมณ์ปัจจุบันที่ปรากฏ นิ่งก่อนเสมอ เพราะจะนิ่งเป็นการเพิ่มกาลังของสติสมาธิ พอนิ่งปึ๊บ อาการเกิด มุ่งไปตามรู้อาการ ดูสภาพจิต นิ่งแล้ว ดูสภาพจิต มันเบามันสงบ ตอนนี้สว่างเบาโล่งสงบมั่นคง รู้อาการที่ เกิดขึ้น ในบรรยากาศของความสงบ ความมั่นคงนั้น อะไรขึ้นมาแล้วเข้าไปดับอย่างไร ตามเกาะติดอาการ เน้นเกาะติดอาการเกิดดับนั้น ๆ ไป เดี๋ยวก็จะเดินหน้าไปเรื่อย สลับกันไป พออาการเกิดดับนี้จบ กลับมา นิ่งใหม่ ดูสภาพจิต ดูสภาพจิต สภาพจิตเป็นอย่างไร นิ่งขึ้น ว่างขึ้น ยังนิ่งอยู่ มานิ่งใหม่ อะไรเกิดต่อ กาหนดรู้ต่อไป ทาแบบนี้สลับไปเรื่อย ๆ ทาแบบนี้ไปเรื่อย ๆ นั่นคือการเดินทาง
ทาแบบนี้ไปเรื่อย ๆ หมายถึงว่า มีเจตนาที่จะเข้าไปกาหนดรู้ อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์ คา ว่ามีเจตนาที่จะกาหนดรู้ หรือเข้าไปกาหนดรู้ อาการเกิดดับของทุก ๆ อารมณ์นี่นะ คาว่าเข้าไป ก็ไม่ได้ หมายความว่า เราจะเข้าถึงตลอดเวลา แต่หมายถึงว่า เจตนาที่จะเข้าไปรู้ เพราะคาว่าเข้าไป สติเราจะได้ เข้าไปใกล้ ๆ อาการ เข้าไปใกล้อาการ นั่นคือการกาหนดรู้ เข้าไปรับรู้ ทีนี้การวางตาแหน่งของสตินี่นะ เมื่อกี้นี้พูดถึงว่าการยกจิตขึ้นสู่ความว่าง แล้วขยายให้กว้างได้
จติ ของเรา จติ ทวี่ า่ งเบานนี่ ะ ถา้ เราวางตา แหนง่ ของจติ จติ ทวี่ า่ งเบายา้ ยไปทมี่ อื ได้ นนั่ คอื วางตา แหนง่ ของสติเราไปอยู่ที่มือได้ ย้ายไปที่ท้องได้ นั่นก็คือการวางตาแหน่งของสติ แล้วจิตที่ว่างเบาไปไว้ที่สมอง ให้มันทะลุสมองไปได้ นั่นคือวางตาแหน่งของสติตัวเอง ทีนี้เวลาอาการเกิดดับเกิดขึ้นนี่นะ เราก็จะได้ เอาจิตที่ว่างเบานี่นะไปอยู่ที่เดียวกัน รู้สึกเข้าไป รู้สึกถึงอาการนั้น มันจะไปโดยง่ายเหมือนอย่างนี้ ถ้าเรา ไปจ้องอย่างเดียว เราวางตาแหน่งสติไม่ถูก เหมือนพยายามที่จะบังคับ
เหมือนกับว่า เวลาขยายความรู้สึก เราพยายามผลักความรู้สึกไปให้ไกล แทนที่แค่ปล่อยให้กว้าง ออก เขาก็กว้างแล้ว แต่บอกให้ขยายปึ๊บ เราก็พยายามดัน ๆ ๆ บางครั้งจะรู้สึกใช้พลังแล้วก็เหนื่อย แล้ว ขยายไม่ได้ เหมือนเราไปจับ...ขยายเขาออก แต่ถ้าดู จับที่ความรู้สึกที่เบา จับที่ความรู้สึกที่สงบ ก็สังเกต จิตที่สงบ กว้างแค่ไหน...นิดเดียว ถ้าจิตเราว่างอยู่ ไปดูจิตที่ว่าง รู้สึกเบาปึ๊บ รู้สึกว่าง เบา ก็สังเกตจิตที่ ว่างเบา กว้างแค่ไหน มันจะเหมือนกับจิตเรา...แว็บ เราสารวจรอบตัว เขาก็ไปเรียบร้อยแล้ว ไม่ต้องไป ผลัก ออกไปช้า ๆ ไม่ต้องผลัก ช้า ๆ
แล้วที่พูดอย่างนี้ เพราะพวกเราเก่งขึ้นแล้ว ไม่ต้องผลักแล้ว แค่รู้สึก เอ่อ!รู้สึกได้เลย มันกว้าง จับ ที่ความรู้สึก รู้สึกได้เลย มันเบา รอบตัวก็เบา ข้างในก็เบา ไม่ต้องผลัก จับที่ความรู้สึกแบบนี้ ทาซ้า ๆ ๆ นี่ คือทบทวนให้ฟัง จะได้รู้ว่า อ๋อ!การยกจิตขึ้นสู่ความว่าง การแยกรูปนามนี่นะ จะใช้ตอนไหน ใช้ได้ตลอด เวลา ๆ การแยกรูปนาม ใช้ได้ตลอดเวลา