Page 13 - สภาพจิต
P. 13

ๆ ๆ สังเกตไหมว่าท่ีอาจารย์พูดมานี่ยังไม่ได้พูดถึงอาการเกิดดับ ของอารมณ์ต่าง ๆ ๆ เลย แต่อยากให้เห็นคุณค่าของจิตที่ดีของตัวเอง ที่เราได้ปฏิบัติมา เราเห็นอาการเกิดดับอาศัยอาการเกิดดับของอารมณ์ ต่าง ๆ ๆ จนจิตมีความสงบ มีความว่าง มีความเบา มีความโล่งข้ึนมาแล้ว ถ้ามีบรรยากาศที่ว่าง ที่เบา ที่สงบตรงนี้รองรับทุก ๆ ๆ อารมณ์ สังเกตดูว่า สภาพจิตใจเรา รูปนามเราเป็นอย่างไร
จรงิ ๆ แลว้ ตอ้ ตอ้ งสงั เกตตอนนเ้ี ลย ลย อาจารยพ์ ดู เหมอื นกบั วา่ เราตอ้ ง ง ง ง ง ง ไปหา ไปหา ไม่ต้องไปหาตอนไหน แล้วก็สังเกตตอนนี้เลยว่าขณะน้ี สภาพจิตใจเป็นอย่างไร ถ้ามีบรรยากาศของความสุข ความนุ่มนวลอ่อนโยน รองรับขณะท่ีฟังธรรมะ เราจะพิจารณาอะไร ? ๑) ตัวท่ีนั่งอยู่น่ังอยู่ ท่ามกลางความสุข ความเบา ความนุ่มนวลอ่อนโยนนั้นไหม ๒) เสียงที่ เสียงที่ ได้ยิน ได้ยิน อย่างเช่นเสียงนกหรือเสียงที่อาจารย์พูด เมื่อได้ยินเสียงรอบ ๆ ตัว ผ่านบรรยากาศของความสุข ความนุ่มนวล ความอ่อนโยน สังเกตว่าจิตใจ ตรงน้ันรู้สึกอย่างไร รู้สึกดีหรือไม่ดี ? “ดีอย่างไร ไม่ดีอย่างไร” ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ ไม่ เกี่ยวกับชอบหรือไม่ชอบ ท่ีถามว่าดีหรือไม่ดีอย่างไร คือ คือ การดูสภาพจิตขณะน้ี จิตดวงนี้ดีอย่างไร จิตที่สงบดีอย่างไร ไม่ใช่ว่าอันน้ี ไม่ดีอันน้ันไม่ดี เขามีความดีในตัวของตัวเองเพียงแต่ว่าดีต่างกันอย่างไร เพราะจิตที่ดีแล้วจะท�าหน้าท่ีรับรู้อารมณ์ตามความเหมาะสมของอารมณ์ท่ี เกิดขึ้น
การที่มีเจตนาท่ีจะรับรู้ผ่านบรรยากาศของความรู้สึกท่ีดี ของตวั เอง อนั นคี้ อื อื อื การกระทา นคี่ นคี่ อื อื อื การกา หนด นคี่ นคี่ อื อื อื กรรมฐาน ถา้ ไมม่ เี จตนา จตนา ที่จะรับรู้ในลักษณะอย่างนี้ เราก็จะแค่รู้ว่าได้ยิน แล้วก็รู้ว่าภายในจิตใจ รู้สึกสงบ รู้สึกสงบ บางครั้งรู้สึกสงบมีความสุขมีความนุ่มนวล แต่เสียงท่ีได้ยินไม่ได้
































































































   11   12   13   14   15