Page 17 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเล่าสภาวะ
P. 17
769
ว่ํางแป๊บหนึ่งควํามคิดมํา ก็เลยไปกําหนดควํามคิดต่อ... เห็นไหม “ก็เลยไปกาหนดความคิดต่อ” - เรารู้ เจตนาตัวเองเลยว่าเราทาอะไร
พอไปกาหนดความคิด ความคิดเกิดดับอย่างไร เราก็เล่าไป ควํามคิดเกิดแล้วดับไป มีแล้วดับ แว้บ ๆ ๆ ๆ ๆ แล้วหมดไป อันนี้คือการเล่าความคิด สิ่งที่ต้องเล่าก็คือ เล่าอาการของพองยุบ/อาการของ ลมหายใจเข้าออก เล่าถึงเวทนา เล่าถึงความคิด เล่าอาการของต้นจิต เล่าอาการของอิริยาบถย่อย แล้วก็ สภาพจติ - จา ไดน้ ะหกอยา่ ง! ถา้ เราแยกเลา่ แบบนเี้ ราจะจา แมน่ ! ลมหายใจกบั พองยบุ นจี่ ดั อยใู่ นขอ้ เดยี วกนั เพราะว่าถ้ากาหนดลมหายใจเราก็เล่าลมหายใจ ถ้ากาหนดพองยุบก็บอกว่ากาหนดพองยุบ แค่นั้นเอง
ทีนี้ หกอย่างนี้เราต้องเล่าทุกวันไหม ? ถ้าเล่าทุกวันได้ ดี! เพราะหกอย่างนี้เป็นอารมณ์ที่เรากาหนด ทุกวัน ถ้าไม่มีลมหายใจไม่มีพองยุบ จาเป็นต้องเล่าไหม ? ไม่จาเป็นหรอก แค่พูดถึงนิดเดียวว่าบัลลังก์นี้ ไม่มีพองยุบเลย ลมหายใจก็ไม่มี มีแต่อาการนี้... ไม่ต้องไปคร่าครวญว่าทาไมไม่เห็น ให้เล่าที่มีก็พอ อย่าง เช่น ไม่มีพองยุบ ไม่มีลมหํายใจเลยมันมีแต่อํากํารกระเพื่อม ๆ ๆ เราก็รู้ อ๋อ! เปลี่ยนเป็นกระเพื่อมแล้ว พอดูไปแล้วมีอาการกระเพื่อม ๆ ก็กาหนดอาการเกิดดับ
อาการเกิดดับที่เราจะรู้ถึงความต่างก็คือว่า ขณะที่มีอํากํารกระเพื่อมขึ้นมํา เมื่อมีสติเข้ําไปกําหนรู้ ตํามรู้อํากํารกระเพื่อม จํากที่เขํากระเพื่อมช้ํา ๆ เขําเริ่มกระเพื่อมเร็วขึ้น ๆ ๆ พอเร็วขึ้นแล้วกลํายเป็นขําด ปึ๊บ ๆ ๆ ๆ แล้วก็หมดไป นี่เล่าแบบนี้! พออาการนี้หมดปุ๊บกาหนดอะไรต่อ... อํากํารกระเพื่อมหมดไป กลํายเป็นค่อย ๆ ผุดขึ้นมํา วําบเบํา ๆ ทีนี้ เวลาอาการเกิดดับเบา ๆ ช้า ๆ เพื่อเป็นการรักษาเวลาเราก็ไม่ ต้องเล่าแบบ มันค่อย ๆ ค่อย ๆ... ใช้เวลาคนอื่นด้วยนะ! แค่บอกว่าอํากํารเกิดดับมันเกิดแบบช้ํา ๆ ค่อย ๆ ขึ้นมําแล้วก็ดับ ค่อย ๆ ขึ้นมําแล้วก็ดับ แล้วก็เบําลงไปเรื่อย ๆ ช้ําลง ๆ ๆ แล้วก็หมดไป
การเล่าสภาวะ เรารู้ว่าเราพูดถึงอะไร เรากาหนดอะไร เขาเกิดดับอย่างไร เป็นการจัดระเบียบของ เราด้วย เราจะจาแม่นขึ้น แล้วสมาธิก็จะมากขึ้น ความชัดเจนในสภาวธรรมก็จะดีขึ้นด้วย บางทีโยคีจา ไม่ได้ก็เลยใช้เป็นว่าอาจารย์เรียงเอาเองแล้วกัน! บางครั้งก็อย่างนั้นบางครั้งก็อย่างนี้ บางทีก็ช้าบางทีก็เร็ว ไมเ่ หมอื นกนั เลย แตเ่ ลา่ ไมถ่ กู วา่ มนั ตา่ งกนั ยงั ไง อาจารยค์ ดิ เอาเองแลว้ กนั ! อาจารยก์ ต็ อ้ งมาเรยี บเรยี งเอง บางทีโยคีมาเล่า บางครั้งเป็นอย่างนี้ บางครั้งก็เปลี่ยน แต่ละบัลลังก์ไม่เหมือนกันเลย... รู้ว่าไม่เหมือนกัน เพราะรู้ว่าไม่เหมือนกันจึงให้สังเกตว่าเขาต่างกันอย่างไร เขาเปลี่ยนไปอย่างไร
สงั เกตไหม ทกุ ครงั้ ทสี่ อบอารมณ์ อาจารยจ์ ะบอกวา่ ใหด้ ตู อ่ นะ ใหด้ วู า่ เขาเปลยี่ นไปอยา่ งไร เปลยี่ น ต่างจากเดิมอย่างไร คาว่า “ต่างจากเดิมอย่างไร” - นี่คือจุดที่โยคีต้องใส่ใจ! ไม่ใช่แค่บอกว่าเขาไม่เหมือน เดมิ เขาเปลยี่ นไปตลอด... รอู้ ยแู่ ลว้ วา่ เขาเปลยี่ น จงึ ใหด้ วู า่ เขาเปลยี่ นไปอยา่ งไร เพราะนคี่ อื ความเปน็ อนจิ จงั นี่คือสภาวธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลง เราพิจารณากาหนดรู้ความเป็นอนิจจังของสภาวธรรมที่เกิดขึ้น รู้ความต่างของอาการเกิดดับที่ปรากฏขึ้น
แมแ้ ตอ่ ารมณเ์ ดยี วกนั ลกั ษณะของการเกดิ ดบั ยงั ตา่ งกนั เลย ไมใ่ ชร่ ะหวา่ งความคดิ กบั เสยี งเกดิ ดบั ต่างกัน แต่ระหว่างเสียงกับเสียงแต่ละขณะ การเกิดดับยังต่างกันเลย! เพราะฉะนั้น จึงถามว่าเขาต่างจาก