Page 31 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเล่าสภาวะ
P. 31
783
ทีนี้สองบัลลังก์ผ่านไป พอบัลลังก์ท้ายไม่เป็นเหมือนเดิมแล้ว โอโห! รู้สึกกระฉับกระเฉง สภําวะ เกิดมําเยอะแยะเลยควํามคิดพ่งุเข้ํามํา...ดับควํามคดิปบั๊ๆปบั๊ๆๆดบัๆอาจารยใ์ช้คาว่าความคดิเพราะ อะไร ? จะได้ไม่มีปัญหากับความคิด ถ้าเราบอกว่า สภําวะเกิดเยอะแยะมํากมําย เดินปุ๊บขยับวุบวับ ๆ เขําดับปึ๊บ ๆ รู้ทันหมด อันนี้ดีแล้ว แต่ที่พูดถึงความคิดเกิดขึ้นมาเยอะแยะมากมาย รู้แล้วเขาก็ดับ รู้แล้ว ดับ... เพราะเมื่อไหร่ก็ตามที่รู้แบบนั้น จิตจะตื่นตัวแล้วจะไม่มีความขุ่นมัวกับความคิดนั้น ถ้ารู้สึกว่าความ คิดเข้ามาเยอะแยะ แต่ว่ามันแว็บ...ดับ แว็บ...ดับ แว็บ...ดับ จิตนิ่ง จิตตั้งมั่นตื่นตัวขึ้น ความคิดเยอะแค่ ไหนจิตก็ไม่ขุ่นมัว
เห็นไหม ตรงนี้เป็นตัวบอก ทาไมบัลลังก์ก่อนความคิดเกิดขึ้นมาเยอะ เราเริ่มกระสับกระส่าย ขุ่น มัว เกิดความกลัวความคิด เกิดเป็นทุกข์ขึ้นมา แต่ตอนนี้พอจิตเรามีกาลังมากขึ้น พอ(ความคิด)เกิดขึ้น มาใหม่กลับไม่ทุกข์กับความคิด ? นี่คือส่วนหนึ่งที่เราจะได้เห็นว่าควรพิจารณาในลักษณะอย่างไร จากที่ จิตเราสงบนิ่ง พอมีกาลังมากขึ้น ส่งผลต่อการรับรู้ความคิดต่างออกไป คิดเรื่องเดียวกันแต่ส่งผลกระทบ ต่างกัน ไม่มีอาการขุ่นมัว (เห็น)แต่เขาดับ ๆ ดับ ๆ พอดับหมดจิตผ่องใสขึ้นสว่างขึ้น ตรงนี้แหละ...เมื่อ จิตใสขึ้นสว่างขึ้น จิตดวงนั้นดีไหม ? ขณะที่จิตใสขึ้นสว่างขึ้น ดู “ตัวจิต” เองที่ใส ตัวเขาเองรู้สึกดีไหม ? ทีนี้พอบอกว่า “ดูที่ตัวจิต” ที่ใสขึ้น กลายเป็นว่ามันจะมีผู้ดูอีกทีหนึ่ง ให้กลืนเป็นอันเดียวกัน
ให้จิตที่ใสขึ้นคือความรู้สึกของเรา จิตเราใสขึ้น ความรู้สึกใสขึ้น เป็นส่วนเดียวกัน ไม่มีผู้ดู เมื่อ ความรู้สึกนั้นใสขึ้นกว้างขึ้น รู้สึกดีไหม ? ความรู้สึกที่ใสขึ้นกว้างขึ้นก็คือตัวจิตนั่นเอง เป็นลักษณะของ ตัวสภาพจิตเรา เป็นตัวเดียวกันเลย ตรงนี้แหละที่เรารู้สึกจิตเราใสขึ้นสว่างขึ้น พอจิตใสขึ้นสว่างข้ึน สภาวธรรมต่อไปเป็นอย่างไร ? อันนี้คือวิธีการพิจารณาสภาวะให้ต่อเนื่องกัน การดูจิตในจิตไม่ใช่แค่รู้ว่า คิดอะไร/ไม่คิดอะไรหรือคิดดี/ไม่ดี ต้องรู้สภาพจิตใจขณะนั้น จิตมันเบา สงบ ใส มั่นคง มีความสุข มี ความนุ่มนวลอ่อนโยน มีความตื่นตัว มีความสะอาด ตรงนี้คือลักษณะของสภาพจิตที่ปรากฏเกิดขึ้นมา สังเกตแบบนี้
ทีนี้ เรารู้ว่าเราดูสภาพจิต สักพักกลับมานิ่ง อาการพองยุบชัดขึ้นมาใหม่ พอพองยุบชัดขึ้นมาปั๊บ มี “เจตนา” ที่จะเข้าไปรู้ว่าอาการพองยุบเปลี่ยนไปอย่างไร ต่างจากเดิมอย่างไร ตรงที่เราสังเกตความแตกต่าง ของลกั ษณะการเกดิ และการดบั ของอารมณ์ ตรงนสี้ า คญั เขาเรยี กวา่ “วปิ สั สนาญาณ” ลกั ษณะการเกดิ และ ดับของอารมณ์เป็นขั้นตอนของลาดับญาณที่ต่างออกไป บางขั้นตอนก็เห็นได้ขณะเดียว เห็นแต่ตอนตั้งอยู่ ไม่เห็นดับ พองยุบ พองยุบ... ไม่เห็นมันดับเลย เห็นแต่พองกับยุบเปลี่ยนไป พองยุบ พองยุบ พองยุบ... ไปเรื่อย ๆ คือเห็นแต่การตั้งอยู่
แตถ่ า้ เหน็ การเกดิ ...เรมิ่ พองขนึ้ มา แลว้ ตงั้ อยู่ แลว้ พอสดุ ปบุ๊ เขาดบั ฟบึ ไป หมดไป ตรงนเี้ หน็ การเกดิ ขึ้น-ตั้งอยู่-ดับไป เห็นสามขณะ แต่เป็นสามขณะของอารมณ์บัญญัติ ถ้าสามขณะของปรมัตถ์ ความรู้สึกว่า เป็นพองยุบหายไป คาบริกรรมหายไป เหลือแต่อาการ บางทีเขาบานขึ้นมาแล้วก็หุบปึ๊บไป บานขึ้นมาแล้ว ก็หุบ... อะไรบานขึ้นมา ? เหมือนดอกไม้เลยนะ จริง ๆ คืออาการเกิดดับ ตรงนี้เขาจะเกิดในที่ว่าง ๆ โยคี