Page 32 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม-การเล่าสภาวะ
P. 32

784
จะรู้สึกว่าอาการเกิดดับ มันค่อย ๆ วื้บขึ้นมาแล้วก็หุบดับไป จริง ๆ อาการพองยุบนั่นแหละ แต่ความรู้สึก ว่าเป็นท้องพองยุบมันหายไปหมด เกิดอยู่ในที่ว่าง ๆ อย่างเดียว ตรงนี้เราก็เล่าตามอาการที่เห็น
อีกอย่างหนึ่งก็คือ การเล่าถึงความต่างไปของการเกิดดับของอารมณ์ที่เกิดขึ้น อย่างเช่น เมื่อกี้ที่ บอกว่าความคิดเกิดดับเร็วมาก ปุ๊บ ๆ ๆ แว็บ ๆ ๆ เข้ามา แต่ “สิ่งที่ต่างไป” นอกจากอาการเกิดดับเร็ว ๆ แล้วก็ช้าลง ๆ แล้วหมดไป(ก็คือ) พอความคิดดับไป สมมติว่าจิตเราใสมากขึ้นเยอะ แล้วมีความคิด(ใหม่) เกดิ ขนึ้ ถามวา่ ความคดิ ทเี่ กดิ ขนึ้ มาครงั้ นเี้ ปน็ ยงั ไง ? ควํามคดิ ลอยมําแบบเบํา ๆ ใส ๆ โปรง่ ๆ แลว้ กด็ บั ไป นี่คือความต่างอย่างหนึ่ง “ความต่างของความคิด” ไม่ใช่รู้แค่เป็นความคิดเข้ามา สมมติ (มโน)ภาพที่เคย เห็นมันทึบ ๆ เป็นเงา ๆ ฟึ่บ...หมด ฟึ่บ...หมด ฟึ่บ...หมด แต่ต่อมาคิดถึงอะไรก็เป็นภาพโปร่ง ๆ ใส ๆ แล้วก็ดับไป หรือบางทีดับปึ๊บจิตสว่างวาบขึ้นมา ดับปึ๊บสว่างวาบ... ต้องสังเกตรู้ความแตกต่างแบบนี้
ทีนี้ สภาวธรรมไม่ว่าขั้นตอนไหนก็ยังต้องอาศัยอาการของกาย-เวทนา-จิต-ธรรม แต่ตัวที่แตกต่าง คอื ตวั สตสิ มาธทิ มี่ กี า ลงั มากขนึ้ ยงิ่ ใสขนึ้ ลกั ษณะของอาการเกดิ ดบั เขาจะเปลยี่ นไป บางทเี กดิ ดบั เรว็ เหมอื น กันแต่มีความแตกต่างกันในตัว อาการรัวที่เป็นบัญญัตินี่ สมมติเวลาหายใจออก มันพึบ ๆ พึบ ๆ ๆ ขาด เป็นขณะ พึบ ๆ พึบ ๆ ไป แต่พอละเอียดขึ้น รู้สึกถึงอาการแป๊บ ๆ แป๊บ ๆ ๆ ใส ๆ อย่างเดียว แบบนี้ก็ มี... อันนี้ตัวอย่างนะ อย่าคิดว่าต้องไปหาให้เหมือนอย่างที่อาจารย์พูดนะ ไม่ใช่ว่าต้องทาให้เหมือน ถ้าเข้า ถึงเดี๋ยวก็เห็นเอง! ประเด็นก็คือว่าพอใจที่จะกาหนดรู้แบบนี้ นี่คือการกาหนดอารมณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ขณะที่เรานั่งกรรมฐาน
ถามว่า เวทนา ความคิด ลมหายใจ เขาเกิดเฉพาะตอนที่เรานั่งหรือเปล่า ? ก็เปล่าอีกนั่นแหละ แต่ เวลาเราเลา่ สภาวะ ขณะทกี่ ํา หนดลมหํายใจ อํากํารของลมหํายใจตอนนตี้ ํา่ งจํากเดมิ แลว้ อํากํารพองยบุ ตรง นี้ต่ํางจํากเดิมแล้ว พอนั่งปุ๊บเบําอย่ํางเดียวเลย เบํา ๆ เบํา ๆ เบํา ๆ บําง ๆ ก็เล่าตามที่เห็น นี่คือวิธีเล่า สภาวะ ถามว่า เขาต่างจากเดิมยังไง ? บางทีโยคีเล่าแบบละเอียดมาก ละเอียดกว่าอาจารย์อีก เล่าทุกเม็ด! มันดับแล้วใส ดับแล้วใส ใส... แล้วต่อจากนั้นเป็นยังไง ? ดับแล้วใส ยิ่งดูยิ่งใส ๆ ๆ พอดับสุดปุ๊บเป็นยัง ไง ? ลืมดู คือหลังจากนั้นลืมดู ตอนที่ดูนี่มันใสไปหมด พอหยุดปุ๊บเป็นยังไง ? เฉย ๆ โอ! ใสมาตั้งนานนี่ เฉย ๆ เหรอ!? ไม่ใช่ สภาวะจะไม่เป็นอย่างนั้น
เราต้องรู้ ดับปุ๊บ...ใสขึ้น ดับแล้วใสขึ้น ๆ พอดับสุดท้าย ดับปึ๊บ ส่วนอื่นเป็นยังไง... ความใสหายไป หมดไหม ความรู้สึกหายไปหมดไหม หรือเปลี่ยนเป็นโล่งไปเลย ใสไปเลย ? อันนี้ต้องรู้ ไม่ใช่แบบ ดับ ๆ ๆ พอดับหมดปึ๊บ สบํายล่ะ ฉันดูจบแล้ว ผลที่ตามมาเป็นยังไง ? ต้องดูด้วยเหรอ!? อันนี้ไม่ได้นะ เพราะนั่น คือผลที่เกิดขึ้น ยังไงก็รู้ ไม่ดูก็เห็น เราดื่มน้าไม่สนใจความเย็น แต่น้าเย็นยังไงก็เย็น เราก็รู้สึกได้ เวลาถาม ปุ๊บเราจะรู้สึกได้ทันที คือย้อนกลับไป อันนี้ไม่ผิดหรอก สัญญาต้องจาได้บอกได้ แล้วจะได้สานต่อชัดเจน และการฝึกสังเกตแบบนี้เราจะได้รู้เหตุรู้ผล—เหตุของการกาหนดรู้อาการอย่างต่อเนื่องนี่พอสิ้นสุดไป ผลที่ตามมาคืออะไร ไม่ใช่ว่า ฉันดูจบแล้ว ทํากํารบ้ํานอําจํารย์เสร็จแล้ว สบํายใจได้


































































































   30   31   32   33   34