Page 108 - เกณฑ์วิธีและแนวปฎิบัติตามคำสั่งการแพทย์
P. 108

ภาคผนวกที่ 12: แนวทางการพิจารณาการส@งต@อผูcปzวยฉุกเฉินดcวย


                                               อากาศยานเขตสุขภาพที่ 2




                                                                                                        ั
                          เนื่องจากเขตสุขภาพที่ 2 มีการใช5อากาศยานในการลำเลียงส7งต7อผู5ปHวยฉุกเฉิน โดยเฉพาะจังหวด
                                                                               \
                   ตากมีอัตราการใช5อากาศยานในการเคลื่อนย5ายผู5ปHวยและมีประสบการณมากที่สุด ทางเขตสุขภาพที่ 2 จึง
                   ให5จังหวัดตากเปLนแม7ข7ายในการให5คำปรึกษาการส7งต7อผู5ปHวยฉุกเฉินด5วยอากาศยาน ดังนั้นแนวทางในการ
                   ประสานงานและการปฏิบัติการ จะอ5างอิงถึง

                                                                                                        ิ
                    1.  คู7มือแนวทางปฏิบัติการส7งต7อผู5ปHวยฉุกเฉินด5วยอากาศยาน พ.ศ. 2557 สถาบันการแพทย\ฉุกเฉน
                       แห7งชาติ ผู5ปฏิบัติสามารถ Download เอกสารและแนวทางปฏิบัติได  5

                                                                                                        ั
                    2.  แนวทางปฏิบัติขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติการฉุกเฉินด5วยอากาศยาน พื้นที่จังหวัดตาก ของศูนย\รบ
                       แจ5งเหตุและสั่งการ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ5าตากสินมหาราช (ดังเอกสารแนบ กรณีใช5ทีมและ
                       อากาศยาน จังหวัดตาก)

                   เกณฑëการขอใชBปฏิบัติการฉุกเฉินดBวยอากาศยาน
                    1.  มีแพทย\อำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉินประจำจังหวัดให5การรับรองว7าการลำเลียงส7งต7อหรือเคลื่อนย5าย

                       ผู5ปHวยด5วยอากาศยานเปLนประโยชน\ต7อการปzองกันการเสียชีวิตหรืออาการรุนแรงมากขึ้นของผู5ปHวย

                                                                                                        L
                       ฉุกเฉินนั้น โดยต5องพิจารณารอบด5านทั้งความปลอดภัยของผู5ปHวยและทีมลำเลียงทางอากาศเปน
                       สำคัญ

                                                                                                        ื
                    2.  เปLนผู5ปHวยฉุกเฉินวิกฤตหรือฉุกเฉินเร7งด7วนที่เกินขีดความสามารถของหน7วยปฏิบัติการฉุกเฉินหรอ
                       สถานพยาบาลและถ5าหากปล7อยทิ้งไว5อาจเปLนอันตรายถึงแก7ชีวิตหรือมีอาการรุนแรงมากขึ้น โดยให 5
                       คำนึงถึงสภาพพื้นที่ทุรกันดารหรือพื้นที่ประสบภัยหรือพื้นที่เสี่ยงอันตรายร7วมประกอบการพิจารณา

                       ของแพทย\อำนวยการปฏิบัติการฉุกเฉินประจำจังหวัด

                                                                             ุ
                    3.  การขนย5ายอวัยวะหรือชิ้นส7วนของมนุษย\เพื่อการช7วยเหลือผู5ปHวยฉกเฉิน
                    4.  การลำเลียงยาหรือเวชภัณฑ\รวมถึงบุคลากรทางการแพทย\เพื่อการช7วยเหลือผู5ปHวยฉุกเฉินในพื้นท ี่

                       ห7างไกลทุรกันดาร พื้นที่ประสบภัยหรือพื้นที่เสี่ยงอันตราย
















                   แนวปฏิบัติสำหรับหน.วยปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย7 เขตสุขภาพที่ 2 พ.ศ. 2565                  93
                   OFFLINE EMS MEDICAL PROTOCOLS OF PUBLIC HEALTH REGION 2
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113