Page 99 - student-manual2020
P. 99
๙๒ คณะศิลปศาสตร๑ มหาวิทยาลัยมหิดล
จ านวนหนํวยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค๎นคว๎า)
ศศภท ๓๖๕ การพูดแบบพิธีกรและผู้ประกาศ ๓ (๓-๐-๖)
LATH 365 Master of Ceremony and Broadcasting Speaking 3 (3-0-6)
หลักการพูดแบบพิธีกร หลักการพูดส าหรับงานผู๎ประกาศในสื่อประเภทตําง ๆ พัฒนาความสามารถในการพูด
แบบพิธีกรและผู๎ประกาศ มาตรฐานการใช๎ภาษา จริยธรรมและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
Principle of speaking for the master of ceremony and broadcasting, proficiency
development of speaking and announcing; language standards for speaker and broadcaster; moral
and ethics in speaking and broadcasting
ศศภท ๓๖๖ การพูดเพื่อการฝึกอบรม ๓ (๓-๐-๖)
LATH 366 Speaking for Training 3 (3-0-6)
หลักการพูดเพื่อฝึกอบรม เทคนิคการเป็นวิทยากรและกระบวนกร การออกแบบการฝึกอบรม การพัฒนา
คุณลักษณะ เจตคติและความสามารถในการพูดฝึกอบรมรูปแบบตําง ๆ
Principles of speaking in training; techniques and processes of training; training course
design; developing characteristics, attitude, and proficiency in speaking for various types of training
ศศภท ๓๖๗ การพูดแบบสาระบันเทิง ๓ (๓-๐-๖)
LATH 367 Docu-entertainment Speaking 3 (3-0-6)
หลักการพูดเพื่อให๎เกิดสาระความรู๎และความบันเทิง เทคนิคการพูดแบบสาระบันเทิงในที่ชุมนุมชนและในสื่อ
ตําง ๆ พัฒนาความสามารถในการพูดแบบสาระบันเทิง อาทิ การน าเสนอ โต๎วาที ทอล๑กโชว๑
Principles of speaking for entertainment and knowledge dissemination; practice of docu-
entertainment speaking in public and media; proficiency development of various types of speaking
such as talk and debate
ศศภท ๓๖๘ วาทศิลป์และวาทนิพนธ์ ๓ (๓-๐-๖)
LATH 368 Rhetoric and Speech Composition 3 (3-0-6)
ความรู๎เกี่ยวกับวาทศิลป์ หลักการเขียนและพูดอยํางมีวาทศิลป์ วิเคราะห๑วาทศิลป์ในสารเพื่อโน๎มน๎าวใจ
พัฒนาความสามารถในการเขียนสารเพื่อโน๎มน๎าวใจแบบตําง ๆ อาทิ สาร ค ากลําว ปาฐกถา สุนทรพจน๑
Knowledge of rhetoric; principles of rhetorical writing and speaking; analyzing rhetorical
strategies in persuasion; proficiency development of writing for persuasion such as message,
address, lecture, and speech
ศศภท ๓๖๙ ภาษาไทยสมัยต่าง ๆ ๓ (๓-๐-๖)
LATH 369 Thai Language in Different Periods 3 (3-0-6)
ลักษณะของภาษาไทยสมัยตําง ๆ เปรียบเทียบลักษณะภาษาตํางสมัยในด๎านตําง ๆ อาทิ ตัวอักษร อักขรวิธี
เสียง ค า ประโยค ส านวนโวหาร และการใช๎ภาษาในระดับตําง ๆ ตั้งแตํสมัยสุโขทัยจนถึงสมัยปัจจุบัน
Characteristics of the Thai language of different periods; comparison of different aspects of
the language including alphabet, writing system, sound, expression, sentence, idiom and language
use; from the Sukhothai period to the present time