Page 95 - student-manual2020
P. 95

๘๘   คณะศิลปศาสตร๑ มหาวิทยาลัยมหิดล


             กลุ่มวิชาเอก สาขาวิชาภาษาไทย                                                                            ๖๖  หน่วยกิต

                                                       รายวิชาบังคับ
                  รายวิชาบังคับในกลุํมวิชาเอกสาขาวิชาภาษาไทย มีจ านวน ๑๕ รายวิชา นักศึกษาต๎องเรียนทุกรายวิชา

            รวม ๔๕ หนํวยกิต ดังนี้
                                                                        จ านวนหนํวยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค๎นคว๎า)

            ศศภท  ๑๐๑  การใช้ภาษากับการคิด                                                      ๓ (๓-๐-๖)
            LATH  101      Language Use and Thinking                                              3 (-3-0-6)
                   ความสัมพันธ๑ระหวํางการใช๎ภาษากับการคิดแบบตําง ๆ อาทิ คิดแบบมีเหตุผล คิดวิเคราะห๑ คิดสังเคราะห๑
            คิดสร๎างสรรค๑ และคิดแบบบูรณาการ และการถํายทอดความคิดโดยใช๎ภาษาเป็นสื่อ

                   Relationship between language use and several thinking styles including rational, analytical,
            synthetical, creative and integrative thinking, using language as a tool for expressing thoughts


            ศศภท  ๒๐๑  หลักและศิลปะการฟังและการพูด                                             ๓ (๓-๐-๖)
            LATH  201      Principles and Art of Listening and Speaking                          3 (3-0-6)
                   หลักการฟังและการพูด การพัฒนาความสามารถด๎านการฟังและพูดในชีวิตประจ าวัน การฟังและพูดเพื่อ

            วัตถุประสงค๑เฉพาะ การพูดน าเสนอทางวิชาการ การพูดในที่ชุมนุมชน
                   Principles of listening and speaking; development of listening and speaking proficiency in
            everyday life and for specific purposes; academic presentation and public speaking


            ศศภท  ๒๐๒  หลักและศิลปะการอ่านและการเขียน                                          ๓ (๓-๐-๖)
            LATH  202      Principles and Art of Reading and Writing                             3 (3-0-6)
                   หลักการอํานและการเขียน การพัฒนาความสามารถด๎านการอํานและการเขียนแบบตําง ๆ

                   Principles of reading and writing; development of proficiency in various types of reading and writing

            ศศภท  ๒๐๓  ลักษณะภาษาไทย                                                           ๓ (๓-๐-๖)

            LATH  203      Characteristics of the Thai Language                                  3 (3-0-6)
                   ความหมายและธรรมชาติของภาษาไทย ลักษณะของหนํวยภาษาระดับตําง ๆ ภาษาไทยถิ่น
            ภาษาตํางประเทศที่สัมพันธ๑กับภาษาไทย ความสัมพันธ๑ระหวํางภาษาไทยกับสังคมและวัฒนธรรมไทย

                   Meaning and nature of Thai language; characteristics of language units at different levels;
            Thai dialects; foreign languages related to Thai language; relationship between Thai language and
            Thai society and cultures


            ศศภท  ๒๐๔  หลักการศึกษาวรรณกรรมไทย                                                 ๓ (๓-๐-๖)
            LATH  204      Principles for the Study of Thai Literary Works                       3 (3-0-6)
                   หลักการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย องค๑ประกอบของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ความรู๎ด๎าน

            สุนทรียศาสตร๑เพื่อการศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรมไทย ความสัมพันธ๑ระหวํางวรรณคดีและวรรณกรรมกับชีวิตและสังคม
                   Principles for the study of traditional and contemporary Thai literary works, components of

            traditional  and  contemporary  Thai  literary  works,  knowledge  of  aesthetics  for  literary  studies,
            relationship between literature and life
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100