Page 69 - EBOOK-semifinal_Neat
P. 69

การแทรกสอด/การเลี้ยวเบนของแสง







      การแทรกสอดของแสง (Interference)
       การแทรกสอดของแสง เกิดไดตอเมื่อคลื่นแสง2ขบวนเคลื่อนที่มาพบกันจะเกิดการรวมตัวกัน
      และแทรกสอดกันเกิดเปนแถบมืดและแถบสวางบนฉากโดยแหลงกําเนิดแสงจะตองเปนแหลงกําเนิดอาพันธคือเปนแหลงกําเนิดที่ใหคลื่น
      แสงความถี่เดียวกันและความยาวคลื่นเทากัน







                                                     https://tuemaster.com/blog/แสงเชิงฟสิกส/







                                                                            สามารถสรุปสมการที่ใชคํานวณเกี่ยวกับสลิตคู ดังน ี้
      การการแทรกสอดของแสง                                                   1. เมื่อ S1 , S2มีเฟสตรงกัน
                                                                             การแทรกสอดแบบเสริมกัน(แนวกลางเปนแนวปฏิบัพ A0)
      ถาให ชองแคบ S1และ S2เปนแหลงกําเนิดแสงหางกันเปนระยะ d เมื่อแสงเดินทางจาก  S2P – S1P = nλ
      ชองแคบมาถึงฉากดวยระยะทางที่ตางกัน เดินทางมาพบกันบนจุดเดียวกันคือจุด P จะไดผล       การแทรกสอดแบบหักลางกัน
                                                                            S2P – S1P = (n-1/2)λ
      ตาง S1P กับ S2P เปนดังสมการ                                         2. เมื่อ S1 , S2มีเฟสตรงขามกัน
      จากภาพการแทรกสอดของแสง พบวา S2P – S1P = d sinθ                        การแทรกสอดแบบเสริมกัน
                                                                            S2P – S1P = (n-1/2)λ
                                                                            การแทรกสอดแบบหักลางกัน (แนวกลางเปนแนวบัพ N0)
                                                                            S2P – S1P = nλ







        การเลี้ยวเบนของแสง (Diffraction)
                                                                             การเลี้ยวเบนของแสงผานชองเดี่ยว
        ถาเราวางวัตถุทึบแสงไวระหวางฉากกับจุดกําเนิดแสงที่สวางมากเราจหะเห็นขอบของเงา  การเลี้ยวเบนของแสงเกิดขึ้นได เมื่อแสงจากแหลงกําเนิด
        วัตถุนั้นบนฉากพรามัวเพราะแสงเกิดการเลี้ยวเบนทําใหเกิดการเลี้ยวเบนทําใหเกิดการ  แสงอาพันธเดินทางผานชองแคบที่มีขนาดเล็กใกลเคียงกับ
                                                                             ความยาวคลื่นแสงทุกๆ จุดบนชองเดี่ยวจะทําหนาที่เปน
        แทรกสอดเปนแถบมืดและแถบสวาง                                         แหลงกําเนิดแสงใหม 






                                         https://images.app.goo.gl/xgtryyqGdD5PpCLv7


                                                                                                  https://tuemaster.com/blog/แสงเชิงฟสิกส/
                                 เงื่อนไขการเปนปฏิบัพ (Antinode)
                                 การพิจารณาหาตําแหนงปฏิบัพโดยตรง ไมมีการพิจารณา ตําแหนงปฏิบัพหาไดจากการเฉลี่ยตําแหนงบัพ
                                 สมการปฏิบัพคือ




                                 ในการพิจารณาการเลี้ยวเบนผานชองแคบเดี่ยวจะได 
                                 สมการปฏิบัพ




                                 สมการบัพ





                                                            69
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74