Page 109 - ทดสอบ Ebook
P. 109

109




                        3. หมวดวิชาเลือกเสรี เป็นวิชาที่เกี่ยวกับทักษะชีวิต และหรือทักษะวิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียน
                 เลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพื่อการประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อ

                                                                                                         ุ
                        4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เป็นส่วนที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะชีวิต และหรือทักษะวิชาชีพ ผู้เรียนทกคน
                 ต้องเข้าร่วมกิจกรรมอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2 ชั่วโมงทุกภาคเรียน กิจกรรมเสริมหลักสูตรนี้ไม่นับหน่วยกิต
                   จำนวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวิชา ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ในโครงสร้างของแต่ละประเภทวิชาและ
                 สาขาวิชา โดยจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ อยู่ระหว่าง
                 103-120 หน่วยกิต และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง อยู่ระหว่าง 83-90 หน่วยกิต


                        3.3.2 การจัดการศึกษาตามหลักสูตร
                                                         ึ
                                                                                                        ู้
                        การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการอาชีวศกษา เน้นการเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริงด้วยตนเองเพื่อให้ผเรียน
                                                         ี่
                                 ้
                 สามารถประยุกต์ใชความรู้และทักษะในวิชาการทสัมพันธ์กับวิชาชีพในการวางแผน แก้ปัญหาและดำเนินงานได ้
                 อย่างเหมาะสม ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนในประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางานต่าง ๆ ได้อย่างกว้างขวาง
                 รวมทั้งสามารถเลือกวิธีการเรียนได้อย่างหลากหลายตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน ทั้งรูปแบบในระบบ
                 นอกระบบ และหรือระบบทวิภาคี ทั้งนี้ จะเน้นการศึกษาระบบทวิภาคีเป็นสำคัญ โดยนำผลการเรียนแตละวิธีมา
                                                                                                      ่
                 ประเมินผลร่วมกัน ตลอดจนสามารถเทียบโอนผลการเรียนและขอเทียบความรู้และประสบการณ์ เพื่อนับเป็น
                 ส่วนหนึ่งของผลการเรียนรายวิชาตามหลักสูตรที่เรียนได้ด้วย ทำให้ใช้ระยะเวลาในการเรียนน้อยกว่าการเรียนใน
                 ระบบเพียงอย่างเดียว ซึ่งปกติผู้เรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจะต้องใช้ระยะเวลาเรียน 3 ปีการศึกษา และ
                 ผู้เรียนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ต้องใช้เวลาเรียน 2 ปีการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาหลักสูตร

                 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชา หรือสาขาวิชาอื่น หรือมัธยมศึกษาตอนปลาย  (ม.6) หรือเทียบเทา
                                                                                                            ่
                 จะต้องใช้เวลาเรียนประมาณ 3 ปีการศึกษา โดยที่แต่ละปีการศึกษาจะแบ่งออกเป็น 2 ภาคเรียนปกติหรือระบบ
                 ทวิภาค ภาคเรียนละ 18 สัปดาห์ โดยมีเวลาเรียนและจำนวนหน่วยกิตตามที่กำหนด และอาจเปิดสอนภาคเรียน
                                                                                                        ั
                 ฤดูร้อนได้อีกตามที่เห็นสมควร ทั้งนี้ การเรียนในระบบชั้นเรียนปกติกำหนดให้สถานศึกษาเปดทำการสอนสปดาห์
                                                                                            ิ
                                                                      ั
                 ละไม่น้อยกว่า 5 วัน วันละไม่เกิน 7 ชั่วโมงและกำหนดเวลาในการจดการเรียนการสอนคาบละ 60 นาท  ี

                        3.3.3 การจัดแผนการเรียนตามหลักสูตร

                        การจัดแผนการเรียนเพื่อกำหนดรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรที่จะดำเนินการสอนในแต่ละภาคเรียน
                 นั้น ขึ้นอยู่กับลักษณะหรือกระบวนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละสาขาวิชา โดยพิจารณาจัดอัตราส่วนการเรียนรู้
                 ภาคทฤษฎีต่อภาคปฏิบัติในหมวดทักษะวิชาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประมาณ 40 : 80         และ
                 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ประมาณ 40 : 60 ทั้งนี้ มีข้อเสนอแนะที่สำคัญในการจัดรายวิชาแตละภาค
                                                                                                      ่
                 เรียน ดังนี้

                        1. คำนึงถึงรายวิชาที่ต้องเรียนตามลำดับก่อน-หลัง ความง่าย-ยากของรายวิชา ความต่อเนื่องและ
                 เชื่อมโยงสัมพันธ์กันของรายวิชา รวมทั้งรายวิชาที่สามารถบูรณาการจัดการศึกษาร่วมกันเพื่อเรียนเป็นงาน
                 และหรือชิ้นงานในแต่ละภาคเรียน

                        2. รายวิชาทวิภาคี หรือการนำรายวิชาไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ/แหล่งวิทยาการให้มีการ
                 ประสานงานร่วมกันเพื่อพิจารณากำหนดรายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่ตรงกับลักษณะงานของสถานประกอบการ/
                 แหล่งวิทยาการนั้น ๆ
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114