Page 47 - กรมศุลกากร ประจำปี 2562
P. 47
03
ยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบควบคุมทางศุลกากรให้มีประสิทธิภาพและเชื่อมโยงกัน
โครงกำรศูนย์ประสำนงำนกำรควบคุมสินค้ำเชิงยุทธวิธี
กรมศุลกากรได้ด�าเนินการร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ภายในประเทศ หรือหน่วยงานต่างประเทศที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการเสริมสร้าง
ความตระหนักรู้ให้แก่เจ้าหน้าที่ศุลกากร หรือผู้ที่เกี่ยวข้องให้เห็นถึงภัยอันตรายจากการน�าสินค้าเชิงยุทธวิธีไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้อง
นอกจากนี้แล้ว ยังด�าเนินการน�าเครื่องมือ อุปกรณ์ และเทคโนโลยีต่าง ๆ เข้ามาสนับสนุนการตรวจสอบสินค้าของเจ้าหน้าที่ ตลอดจน
การเก็บรวมรวบข้อมูลสถิติการตรวจสอบสินค้าเชิงยุทธวิธี เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดท�าการบริหารความเสี่ยงและการก�าหนดเป้าหมาย
(Profiling and Targeting) เพื่อให้การควบคุมและตรวจสอบสินค้าเชิงยุทธวิธีเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานสากลและไม่เป็น
อุปสรรคหรือกระทบต่อการอ�านวยความสะดวกทางการค้า ซึ่งกรมศุลกากรได้น�าเครื่องมือตรวจพิสูจน์เอกลักษณ์สาร (Raman
Spectrometer) เครื่อง Black Scatter และชุดทดสอบแบบใช้แล้วทิ้ง (Test Kits) มาทดลองใช้ในท่าตรวจปล่อยหลัก จ�านวน 6 ท่า
และส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมการประชุม Coordination Meeting For Sub Regional operation on Programme Global Shield and
Small arms & light weapons ร่วมกับ WCO และสมาชิกอีก 9 ประเทศ เพื่อด�าเนินการเตรียมความพร้อมในการด�าเนินการ
Pre Operation Phase และ Operation Phase และเข้าร่วมอบรมหลักสูตร Introduction to Strategic Trade Control, Introductory
ณ เมืองแดจอน สาธารณรัฐเกาหลี เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้การจัดการความเสี่ยง ใช้เครื่องมืออุปกรณ์ และเทคโนโลยีในการตรวจสอบ
ได้อย่างแม่นย�าและมีประสิทธิภาพ
04
ยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการจัดเก็บภาษีโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
โครงกำรพัฒนำระบบประเมินรำคำศุลกำกรด้วย Digital Big Data
กรมศุลกากรได้น�าระบบราคาแกตต์มาใช้เป็นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาราคาศุลกากรตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นไปตามข้อผูกพัน
ที่ประเทศไทยได้มีต่อองค์การการค้าโลก (WTO) โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา กรมศุลกากรได้มุ่งมั่นพัฒนาปรับปรุงกระบวนงาน
เพื่อสร้างมาตรฐานด้านราคาศุลกากรตามระบบราคาแกตต์ และเพิ่มประสิทธิภาพด้านการจัดเก็บภาษีอากรมาอย่างต่อเนื่อง แต่ด้วย
ข้อจ�ากัดด้านความรู้ความสามารถในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลความเสี่ยงด้านราคาศุลกากรด้วยข้อมูล
Digital Big Data กรมศุลกากรจึงมีแนวคิดศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบประเมินความเสี่ยงด้านราคาศุลกากร ซึ่งแบ่งออกเป็น
2 ระยะ คือ
1) ระยะสั้น คือการน�าระบบฐานข้อมูลราคาสินค้าน�าเข้าซึ่งมีอยู่เดิมมาพัฒนาควบคู่กับระบบ CIS เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ในการวิเคราะห์และจัดท�าฐานข้อมูลราคา ตลอดจนการน�าฐานราคาไปใช้ประกอบการพิจารณาราคา โดยเจ้าหน้าที่ตรวจปล่อย
เพื่อลดปัญหาข้อพิพาทด้านราคาระหว่างกรมฯ และผู้น�าเข้า
2) ระยะยาว คือการศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบงานด้านราคาทั้งระบบแบบบูรณาการ ทั้งในมิติ ด้านข้อมูลและผู้ใช้งาน
นับตั้งแต่ก่อนการน�าเข้า ระหว่างการน�าเข้า และหลังการน�าเข้า นอกจากนี้ยังศึกษาการจัดท�าระบบ เชื่อมโยงฐานข้อมูลผู้เสีย
ภาษีอากรระหว่างกรมศุลกากรและกรมสรรพากรเพื่อน�ามาใช้ประกอบการพิจารณาความเสี่ยง ด้านราคาศุลกากรของผู้น�าเข้า
ในแต่ละราย ซึ่งจะสามารถลดปัญหาการกระท�าความผิดทางศุลกากร ส�าหรับกรณีหลีกเลี่ยงอากร อันเกิดจากการส�าแดง
ราคาศุลกากรไม่ถูกต้อง สามารถลดข้อพิพาทระหว่างกรมศุลกากรและผู้น�าเข้า ในด้านราคาศุลกากร และช่วยอ�านวย
ความสะดวกทางการค้า
THE CUSTOMS DEPARTMENT ANNUAL REPORT 2019 51