Page 95 - กรมศุลกากร ประจำปี 2562
P. 95

โครงการอบรมชี้แจงการปฏิบัติพิธีการศุลกากรน�าของเข้าส่งของออก








         FTA






                       ความตกลงการค้าเสรี (FTA) ที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน


                 ความตกลง             มีผลบังคับใช้                       ความคืบหน้าการด�าเนินการ

                                                     บังคับใช้กฎเฉพาะรายสินค้า (Product Specific Rules: PSR) ตามพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์
                                                     ฉบับปี 2017 และมีการใช้เอกสารรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า 3 ประเภท ได้แก่
                                                            1) หนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า Form D
           1.  ความตกลงการค้าสินค้า    ตั้งแต่ มกราคม 2539         2) หนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Form D)
             ของอาเซียน (ATIGA)                             3) การรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าด้วยตนเอง (โครงการน�าร่องที่ 1 และ 2) ปัจจุบัน ที่ประชุม
                                                     ได้เสร็จสิ้นการแก้ไขระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับหนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้า (OCP) เพื่อรองรับการใช้
                                                     การรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าด้วยตนเองของอาเซียน (ASEAN-wide Implementation of
                                                     Self-Certification: AWSC)
                                                     ปัจจุบันมีการลงนามในพิธีสารเพื่อแก้ไขกรอบความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน (Upgraded
           2.  ความตกลงการค้าเสรี   ตั้งแต่ มกราคม 2548  Protocol) แล้ว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2562 พิธีสารนี้มีการปรับปรุง ข้อบทและ
             อาเซียน-จีน (ACFTA)                     เกณฑ์ถิ่นก�าเนิดสินค้าให้ยืดหยุ่นมากขึ้น รวมถึง กฎเฉพาะรายสินค้า (PSR) ปรับจาก HS 2012
                                                     เป็น HS 2017
                                                     ปัจจุบันมีการบังคับใช้กฎเฉพาะรายสินค้าตามพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ฉบับปี 2002 และ
           3.  ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจ   ตั้งแต่ มิถุนายน 2552  ล่าสุดสมาชิกได้หารือการปรับกฎเฉพาะรายสินค้า จากฉบับปี 2002 เป็นฉบับปี 2017 เสร็จสิ้น
             อาเซียน-ญี่ปุ่น (AJCEP)                 แล้ว แต่จะต้องหารือแนวทางการบังคับใช้และวันที่จะบังคับใช้ต่อไป และคาดว่าจะมีการประชุม
                                                     เพื่อหารือประเด็นดังกล่าว ในปี 2563
                                                     กฎเฉพาะรายสินค้า ที่แนบกับภาคผนวก 3 กฎว่าด้วย ถิ่นก�าเนิดสินค้า ระบุไว้ในบัญชีแนบท้าย
                                                     2 ของความตกลง และคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบการปรับกฎเฉพาะรายสินค้าจากพิกัด
                                                     ศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ ฉบับปี 2012 เป็นฉบับปี 2017 กรมศุลกากรจึงได้ด�าเนินการออก
           4.  ความตกลงการค้าเสรี                    ประกาศกรมศุลกากรที่ 177/2562 ลงวันที่ 27 สิงหาคม 2562 เพื่อให้บัญชีกฎเฉพาะรายสินค้า
            อาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี   ตั้งแต่ มกราคม 2553  ในพิกัดศุลกากรระบบ ฮาร์โมไนซ์ฉบับปี 2017 มีผลบังคับใช้ในทางปฏิบัติ
            (AKFTA)                                  กรมศุลกากร ได้ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากร
                                                     ศุลกากรส�าหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน-สาธารณรัฐเกาหลี (ฉบับที่ 2) ลงวันที่ 12 กรกฎาคม
                                                     2562 เพื่อให้อัตราต่างตอบแทนแก่สาธารณรัฐเกาหลี และได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา
                                                     ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 136 ตอนพิเศษ 178 ง วันที่ 12 กรกฎาคม 2562
           5.  ความตกลงการค้าเสรี   ตั้งแต่ มกราคม 2553  ปัจจุบันอาเซียนมีมติให้ชะลอการเจรจาทบทวนความตกลงการค้าสินค้า จนกว่าการเจรจา RCEP
             อาเซียน-อินเดีย (AIFTA)                 จะแล้วเสร็จ ณ ปัจจุบันไม่มีการประชุม
           6.  ความตกลงการค้าเสรี                    อาเซียน ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ได้ลงนามในพิธีสารเพื่อแก้ไขความตกลงฯ เมื่อเดือน
             อาเซียน-ออสเตรเลีย-    ตั้งแต่ มีนาคม 2553  สิงหาคม 2557 โดยประเด็นที่มีการปรับปรุง เช่น การบังคับใช้กฎเฉพาะรายสินค้า (PSR) จาก
             นิวซีแลนด์ (AANZFTA)                    ฉบับปี 2012 เป็นฉบับปี 2017
                                                                  THE CUSTOMS DEPARTMENT  ANNUAL REPORT 2019     99
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100