Page 96 - กรมศุลกากร ประจำปี 2562
P. 96
ความตกลงการค้าเสรี (FTA) ที่มีผลบังคับใช้ในปัจจุบัน
ความตกลง มีผลบังคับใช้ ความคืบหน้าการด�าเนินการ
โดยมีผลใช้บังคับกับประเทศภาคีสมาชิกจ�านวน 5 ประเทศ ได้แก่ ฮ่องกง เมียนมาร์ สิงคโปร์ ไทย
และเวียดนาม ทั้งนี้ ส�าหรับประเทศภาคีสมาชิกอีก 6 ประเทศที่ยังไม่มีผลบังคับใช้อันเนื่องมาจาก
อยู่ระหว่างการด�าเนินการภายในประเทศนั้น หากกรมศุลกากรได้รับแจ้งถึงความพร้อมในการ
บังคับใช้ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน-ฮ่องกงจากประเทศดังกล่าวแล้ว จะมีประกาศ
กรมศุลกากรแจ้งให้ทราบในโอกาสต่อไป
7. ความตกลงเขตการค้าเสรี ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2562 กรมศุลกากร ได้ออกประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง การยกเว้นอากรและลดอัตราอากร
อาเซียน-ฮ่องกง (AHKFTA)
ศุลกากรส�าหรับเขตการค้าเสรีอาเซียน-ฮ่องกง ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2562 เพื่อปฏิบัติตาม
ข้อผูกพันตามความตกลงการค้าเสรีอาเซียน-ฮ่องกง (ASEAN-Hong Kong, China Free
Trade Agreement) และข้อผูกพันตามพิธีสารว่าด้วยการน�าพิกัดศุลกากรฮาร์โมไนซ์อาเซียน
มาใช้ และได้ประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศและงานทั่วไป เล่ม 136 ตอนพิเศษ
131 ลง วันที่ 23 พฤษภาคม 2562
8. กรอบความตกลงว่าด้วย จ�านวนสินค้าที่มีการลดภาษีให้แก่กันมีเพียง 83 รายการ เร็ว ๆ นี้มีการเสนอได้กลับมารื้อฟื้น
การจัดตั้งเขตการค้าเสรี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 การเจรจาเพื่อเปิดตลาดสินค้าเพิ่มเติม แต่ยังไม่ส�าเร็จ
ไทย-อินเดีย (TIFTA)
ปัจจุบันไทยลดภาษีสินค้าน�าเข้าจากออสเตรเลียเหลือร้อยละ 0 แล้ว 98.97% ของจ�านวนรายการ
9. ความตกลงการค้าเสรี ตั้งแต่ 1 มกราคม 2548 สินค้า และภายในปี 2568 สินค้าทุกรายการจะลดภาษีน�าเข้าเหลือร้อยละ 0 (เหลือแต่สินค้า
ไทย-ออสเตรเลีย (TAU) เกษตรอ่อนไหวที่มีมาตรการปกป้องพิเศษ) ความตกลงก�าหนดให้มีการประชุม General
Review ปีละ 1 ครั้ง
10. ความตกลงหุ้นส่วน สินค้าน�าเข้าประมาณร้อยละ 49 จากนิวซีแลนด์จะลดภาษีเป็น 0 ทันทีในวันที่ความตกลงมีผลใช้
เศรษฐกิจที่ใกล้ชิดยิ่งขึ้น ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2548 บังคับ และจะลดเหลือ 0 ภายใน 7-20 ปี ยกเว้นสินค้าอ่อนไหว การเจรจาเพิ่มเติมคาดว่ายังไม่มี
ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZCEP) ก�าหนดการ หรือมีการเสนอให้จัดการประชุม
11. ความตกลงหุ้นส่วน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน ปัจจุบันมีการบังคับใช้กฎเฉพาะรายสินค้าตามพิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ฉบับปี 2002 ซึ่ง
เศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น 2550 ล่าสุดประเทศไทยและญี่ปุ่นอยู่ระหว่างการหารือเพื่อปรับกฎเฉพาะรายสินค้า จากฉบับปี 2002
(JTEPA) เป็นฉบับปี 2017
12. ความตกลงว่าด้วยการ ไทยและเปรูตกลงที่จะยกเลิก/ลดภาษีร้อยละ 70 ของจ�านวนสินค้าทั้งหมด สืบเนื่องจากการปรับ
เป็นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจ ตั้งแต่ 31 ธันวาคม 2554 ระบบฮาร์โมไนซ์ของตารางภาษีและกฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้าปี 2002 เป็นปี 2007 ทั้งสองฝ่าย
ที่ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้นไทย-เปรู ได้เจรจาปรับเป็นระบบ ปี 2007 แล้ว
(TPCEP)
การประชุมล่าสุด เมื่อวันที่ 20 – 21 มิถุนายน 2562 ณ กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โดย
13. ความตกลงการค้าเสรี ตั้งแต่ 5 พฤศจิกายน ชิลีได้เสนอให้มีการแก้ไขข้อบทกฎว่าด้วยถิ่นก�าเนิดสินค้าบางข้อบท นอกจากนี้ไทยและชิลีได้เห็น
ไทย-ชิลี (TCFTA) 2558
ชอบตารางการปรับกฎเฉพาะรายสินค้าจากฉบับปี 2012 เป็นฉบับปี 2017 เรียบร้อยแล้ว
ในปี 2562 บังกลาเทศและเบนิน ได้ส่งตัวอย่างลายมือชื่อของเจ้าหน้าที่ที่จะลงนามรับรองใน
14. การให้สิทธิพิเศษแก่ประเทศ หนังสือรับรองถิ่นก�าเนิดสินค้าที่จะน�ามาขอรับสิทธิพิเศษตามประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อง
พัฒนาน้อยที่สุด โดยการ ตั้งแต่ 9 เมษายน 2558 การยกเว้นอากรส�าหรับของที่มี ถิ่นก�าเนิดจากประเทศพัฒนาน้อยที่สุด ลงวันที่ 10 พฤศจิกายน
ยกเลิกภาษีน�าเข้าและโควตา 2560 ท�าให้ในปัจจุบันมี 3 ประเทศที่สามารถใช้สิทธิภายใต้โครงการ DFQF ได้แก่ เอธิโอเปีย
(DFQF)
บังกลาเทศ และเบนิน
100 รายงานประจ�าปี กรมศุลกากร 2562