Page 19 - CPS_Report_2564_kalasin
P. 19
ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ
1. ลดความเสี่ยงจากวิกฤตการขาดแคลนน้ำ เนื่องจากธรรมชาติเปลี่ยน และเกิดการขาดน้ำอย่างต่อเนื่อง
2. เกษตรกรมีโอกาสวางแผนการผลิตก่อนหรือหลังฤดูกาลได้ เนื่องจากมีแหล่งน้ำต้นทุน ส่งผลให้ผลผลิต
ทยอยออกสู่ตลาดในระยะเวลาที่เหมาะสม
3. ลดภาวะหนี้สินที่มีความเสี่ยงจากการทำการเกษตรตามระบบธรรมชาติ มาเป็นการเกษตรที่มีระบบน้ำ
ในพื้นที่การเกษตรที่มีระบบน้ำในพื้นที่การเกษตรของตนเอง ลดการพึ่งพาการบริหารจัดการน้ำจากระบบ
ชลประทานหรือแหล่งน้ำตามธรรมชาต ิ
5. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. สร้างโอกาสในการทำการเกษตร และลดความเสี่ยงในการขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตรของ
สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
2. ส่งเสริมการจัดระบบน้ำในไร่นาของเกษตรกรให้มีความยั่งยืน มีแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ลดการพึ่งพา
น้ำจากชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาต ิ
์
3. ส่งเสริมอาชีพการเกษตรแก่สมาชิกสหกรณ/กลุ่มเกษตรกร ให้มีการพัฒนาพื้นที่ของตนเองให้มีระบบ
สำรองน้ำเพื่อการเกษตรไว้ใช้ในเหตุฉุกเฉิน
4. สร้างการเปลี่ยนแปลงระบบการทำเกษตรกรรม แบบพึ่งพาระบบน้ำชลประทานและแหล่งน้ำธรรมชาติ
เป็นการเกษตรแบบบริหารจัดการเพื่อลดความเสี่ยงจากวิกฤติขาดน้ำ (ภัยแล้ง)
5. เพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และสร้างรายได้แก่สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร