Page 238 - CPS_Plan_2565_kalasin_Final
P. 238
โอกาส(O) อุปสรรค(T)
O1รัฐบาลให้การสนับสนุนการรวมกลุ่มโดยเฉพาะ T1ค่าครองชีพสูงส่งผลให้สมาชิกมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
การรวมกันเป็นสหกรณ ์ ท าให้เกิดการผิดนัดช าระหนี้
O2สมาชิกของสหกรณ์ ได้รับการยกเว้น ภาษ T2ธนาคารขยายวงเงินกู้ และ ระยะเวลาการชำระ
ี
ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ หนี้นานกว่าสหกรณ ์
O3ระเบียบที่ออกโดยนายทะเบียนสหกรณ์ถือเป็น T3สถานการณ์ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
กรอบแนวทางในการดำเนินงานของ 2019 (covid 19)
สหกรณ์ได้
⚫ ผลการวิเคราะหข้อมูลของสหกรณ์
์
สหกรณ์ดำเนินธุรกิจ 3 ด้าน มีมูลค่าร่วมทั้งสิ้น 174,627,570.73 บาท เฉลี่ยเดือนละ 14,552,297.46
บาท โดยให้เงินกู้แก่สมาชิกมากที่สุด รองลงมาเป็นเงินรับฝาก การบริหารธุรกิจแต่ละด้าน สรุปได้ดังนี้
6. ธุรกิจสินเชื่อ ระหว่างปีจ่ายเงินกู้ให้สมาชิก 78,905,660.00 บาท ระหว่างปีได้รับชำระคืน
79,336,860.00 บาท วันสิ้นปีมีเงินกู้คงเหลือ 2,820 สัญญา เป็นเงิน 260,467.307.00 บาท
7. ธุรกิจจัดหาสินค้ามาจำหน่าย ระหว่างปีจัดหาสินค้ามาจำหน่าย 348,430.00 บาท จำหน่าย
ให้สมาชิกร้อยละ 1.24 ของยอดขายทั้งสิ้น กำไรเฉพาะธุรกิจ 30,456.00 บาท
8. การรับฝากเงิน ระหว่างปีสหกรณ์รับฝากเงินประเภทออมทรัพย์ ออมทรัพย์พิเศษ และจำหน่าย
ตั๋วสัญญาใช้เงินทั้งสิ้น 95,721,910.73 บาท วันสิ้นปีมีเงินฝากคงเหลือ 4,878 บัญชี เป็นเงิน 128,180,983.18
บาท
สหกรณ์บริหารงานมีกำไรสุทธิประจำปี 9,615,995.95 บาท มีกำไรเฉลี่ยตอสมาชิก 2,508.74
่
บาท คิดเป็นร้อยละ69.20 ของยอดขาย/บริการ ถ้าพิจารณาถึงสัดส่วนปริมาณเงินออมกับหนี้สินของสมาชิก
แล้วโดยเฉลี่ยแล้วมีข้อสังเกตถงความไม่สมดุล คือ ปริมาณเงินออมเฉลี่ยของสมาชิกจำนวน 63,450.64 บาทต่อ
ึ
คน และมีปริมาณหนี้สินเฉลี่ย จำนวน 68,641.21 บาทต่อคน ความสามารถในการชำระหนี้ของสมาชิกจะมี
ปัญหาในการชำระหนี้ให้สหกรณ์ในอนาคต เนื่องจากมีสัดส่วนเงินออมน้อยกว่าหนีโดยเฉลี่ยของสมาชิก
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562ร