Page 29 - หนังสือพลังแห่งการพูด
P. 29
้
�
ื
ตัวอย่างการแบ่งหมวดหมู่ของเน้อหา เช่น กรณีนาท่วมใหญ่ปี
พ.ศ. 2554 ถ้าเราจะพูด เราอาจแบ่งหมวดหมู่ดังนี้
ี
ี
ึ
1. ความเสียหายท่เกิดข้นมีอะไรบ้าง จ�านวนคนท่เสียชีวิต บาด
เจ็บ จ�านวนไร่นาที่เสียหาย ทรัพย์สินอื่นๆ เช่น รถ บ้าน หรือประมาณการ
ตัวเลขที่เสียหายทั้งหมดเป็นเท่าไร
2. สาเหตุที่ส�าคัญเกิดจากอะไรบ้าง อาจเรียงล�าดับความส�าคัญ
ี
�
้
เช่น ปริมาณฝนและพายุมากกว่าทุกปีท่ผ่านมา การบริหารจัดการนา การ
�
บุกรุกทาลายป่า การบุกรุกแม่นาลาคลอง การสร้างสิ่งปลูกสร้างขวางทาง
�
�
้
น�้า เป็นต้น
3. วิธีแก้ไขและป้องกัน อาจแบ่งเป็นภาคประชาชน ภาครัฐ หรือ
ระยะสั้น ระยะยาว เป็นต้น
4. สรุปจบ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของการพูด
ิ
ั
ิ
ี
ั
เป็นส่งส�าคัญของการพูดเช่นกัน เพราะส่งท่เราพูดไปท้งหมดน้น
ผู้ฟังอาจจะยังจดจ�าไม่ได้ หรือยังไม่ทราบว่าจะให้ท�าอะไร
ถ้าเราสรุปจบได้ดี ผู้ฟังจะเกิดความประทับใจ อยากฟังการพูดของ
เราอีก หรือจดจ�าสาระส�าคัญ ประเด็นท่เราต้องการส่อไปยังผู้ฟัง และช่วย
ี
ื
ท�าให้การพูดบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดียิ่งขึ้น
วิธีสรุปจบมีหลายวิธีดังนี้
�
ี
สรุปด้วยการทบทวนหัวข้อหรือสาระท่สาคัญ เช่นพูดเร่องการออก
ื
ั
�
ี
่
ี
กาลงกายด้วยการขจักรยาน อาจสรุปว่า “การขี่จักรยานท่ดีและ
ปลอดภัยควรใส่หมวกกันน็อคทุกคร้งและขี่ในท่ปลอดภัยหรือสนาม
ั
ี
ที่จัดไว้ส�าหรับจักรยานเท่านั้นนะครับ”
สรุปด้วยการบอกแนวทางเพ่อปฏิบัติ เช่นพูดเร่องโทษของการสูบ
ื
ื
บุหร่ เราอาจใช้วิธีการเลิกสูบบุหรี่มาสรุป ตัวอย่างเช่น “เมื่อเรารู้ถึงพิษภัย
ี
และอันตรายต่อตัวเราและคนรอบข้างแล้ว
28 พลังแห่งการพูด