Page 20 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 20

15


               แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล.....................
               เรื่อง   ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยงและก ากับการกิน
                       ยาผู้ป่วยวัณโรค

               เรียน  ประธานกรรมกาปรกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล................................................
                        ด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล............................................................................... มีความประสงค์
               จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยงและก ากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรค
               ปีงบประมาณ 2563   โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล
               ................. เป็นเงิน ……………… บาท (......................................) โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมดังนี้
               ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม กำรค้นหำผู้ป่วยวัณโรครำยใหม่ในประชำกรกลุ่มเสี่ยงและก ำกับกำร
               กินยำผู้ป่วยวัณโรค
               หลักกำรและเหตุผล
                       องค์การอนามัยโลก ได้จัดกลุ่มประเทศที่มีภาระวัณโรคสูง (High Burden Country Lists) เป็น 3 กลุ่มได้แก่  1) กลุ่ม

               ที่มีจ านวนและอัตราป่วยวัณโรคสูง  2) กลุ่มที่มีจ านวนและอัตราวัณโรคที่ติดเชื้อเอชไอวีสูง และ 3) กลุ่มที่มีจ านวนและอัตรา
               ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนานสูง (MDR-TB) ซึ่งประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศ  ที่มีปัญหาวัณโรคสูงทั้ง 3 กลุ่มดังกล่าวมา
               โดยปี พ.ศ. 2559 องค์การอนามัยโลกได้ก าหนดยุทธศาสตร์ยุติวัณโรค (The End TB Strategy)  มีเป้าหมายลดอุบัติการณ์วัณ
               โรค (Incidence)  ให้ต่ ากว่า 10 ต่อแสนประชากรโลก ภายในปี พ.ศ. 2578 (2035) กระทรวงสาธารณสุขได้เห็นชอบแผน
               ยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ  พ.ศ. 2560-2564    เพื่อเป็นกรอบการด าเนินงานโดยมีมาตรการหลักในการด าเนินงานคือ  (1)
               เร่งรัดการค้นหา  วินิจฉัย  และรายงานให้มีความครอบคลุมการรักษา (Treatment Coverage) ร้อยละ 90 ของจ านวนผู้ป่วย

               ที่คาดประมาณจากอุบัติการณ์  (2) เร่งรัดการเข้าถึงบริการตรวจวินิจฉัยในประชากรกลุ่มเปราะบางและกลุ่มเสี่ยงวัณโรค  เช่น
               ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน ผู้ติดเชื้อเอชไอวี ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ต้องขัง และแรงงานข้ามชาติให้ครอบคลุมร้อยละ 90  (3) ดูแลรักษา
               ผู้ป่วยวัณโรคที่ตรวจพบทุกรายด้วยแนวทางการดูแลผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient center care )  ให้มีอัตราความส าเร็จการ
               รักษาไม่ต่ ากว่า  ร้อยละ 90  ในประเทศไทยมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ประมาณ 120,000 ราย  หรือคิดเป็น  171  ต่อประชากร
               แสนคน (WHO, Global TB Report 2016)  การจะบรรลุเป้าหมายยุติวัณโรคนั้น  ประเทศไทยต้องมีอัตราลดอุบัติการณ์เฉลี่ย

               ร้อยละ 12.5 ต่อปี  ในขณะที่ปัจจุบันระยะ 15  ปีที่ผ่านมามีอัตราลดลงของอุบัติการณ์เพียง ร้อยละ 2.7 ต่อปีส าหรับผู้ป่วยวัณ
               โรคที่ขึ้นทะเบียนรักษาในอ าเภอ.....................................  ปีงบประมาณ  พ.ศ.2562  ตามระบบ  NTIP    มีจ านวน...........  ราย
               ผลการรักษาพบว่า อัตราการรักษาส าเร็จ ร้อยละ ..........  อัตราการขาดการรักษา ร้อยละ ...........   อัตราการตาย  ร้อยละ.......
               อัตราการรักษาล้มเหลว ร้อยละ ........ เมื่อศึกษาสาเหตุของการขาดการรักษา พบว่า ยารับประทานยาก เกิดอาการข้างเคียง

               จากการใช้ยา  แพ้ยา  จึงท าให้ผู้ป่วยหยุดยาและขาดการรักษา  จึงส่งผลให้โรคเกิดการแพร่กระจายเชื้อและเกิดเชื้อดื้อยา  และ
               สาเหตุการตาย พบว่า  เป็นผู้สูงอายุและมีโรคร่วม ซึ่งกลุ่มนี้จะเข้าสู่ระบบการรักษาช้า
                        จากเหตุผลดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล...................................................จึงจัดท าโครงการค้นหาผู้
               ป่วนวัณโรครายใหม่และก ากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรค ปี ๒๕63  ขึ้น เพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงวัณโรคเข้าสู่ระบบการรักษาและ
               ผู้ป่วยวัณโรคมีการก ากับการกินยาอย่างต่อเนื่อง    ท าให้การรักษามีประสิทธิภาพลดการแพร่กระจายเชื้อในชุมชน
               วัตถุประสงค์

                       1.   เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้รับการคัดกรองวัณโรคโดยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก และเมื่อพบว่าปอดผิดปกติเข้าได้
                          กับวัณโรคต้องส่งต่อให้โรงพยาบาลเพื่อเข้าสู่กระบวนการตรวจวินิจฉัย
                       2.  เพื่อตัดวงจรการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง
                       3.  เพื่อควบคุมและป้องกันวัณโรคดื้อยา
                       4.  เพื่อให้ผู้ที่มีอาการสงสัย/ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการตรวจเสมหะอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน





                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25