Page 209 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 209
204
ตัวอย่ำงโครงกำร 5
แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล………..
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โครงการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษ
สิ่งแวดล้อม
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล………
ด้วย หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน (ระบุชื่อ) งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ส านักปลัด เทศบาลต าบล............. มี
ความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม
ในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลต าบล..... เป็นเงิน
........... บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรเหตุผล
จังหวัดอุบลราชธานีเป็นพื้นที่เสี่ยงมลพาสิ่งแวดล้อม (Hot zone) ตามแผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองสุขภาพ
ประชาชน ของกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้เนื่องจากมีความหนาแน่นของโรงงานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมประเภทที่อาจก่อ
มลพิษสิ่งแวดล้อม ได้แก่ โรงไฟฟ้าชีวมวล โรงสีข้าวขนาดใหญ่ ฟาร์มปศุสัตว์ และบ่อพักก าจัดขยะในชุมชน กิจการเหล่านี้หาก
ขาดการเฝ้าระวัง ควบคุมที่ดี ย่อมก่อมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนในพื้นที่โดยรอบไม่ว่าจะเป็นปัญหา ฝุ่น ควัน น้ าเสีย
และปฏิกูล ที่อาจปลดปล่อยสาเคมีออกสู่สิ่งแวดล้อม หรือปนเปื้อนสู่อาหารทั้งทางตรงและทางอ้อม ในเขตพื้นที่ของต าบล
…….....................…. มีกิจการที่อาจก่อมลพิษจากการประกอบกิจกรรม คือ……………… องค์การบริหารส่วนต าบล ………จึงเห็น
ความส าคัญในการเฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยงมลพิษสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดท าโครงการนี้ขึ้น
เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัย และสร้างเสริมการตระหนักรู้ และมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรของชุมชนตนเองได้
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อตรวจหาระดับการปนเปื้อนของสารอันตรายในสิ่งแวดล้อม
2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เสี่ยง
3. เพื่อให้ความรู้และความตระหนักในคุณภาพสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการด าเนินงานแบบมีส่วนร่วมในการดูแล
สุขภาพตนเองและทรัพยากรของชุมชน
วิธีด ำเนินกำร
1. จัดท าฐานข้อมูลและสถานการณ์ด้านมลพิษสิ่งแวดล้อมในต าบล โดยใช้แบบส ารวจ พส.1 และพส.2
2. พัฒนาการเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่การเก็บตัวอย่างดิน น้ า อากาศ ส่งตรวจวิเคราะห์ทาง
ห้องปฏิบัติการ ในพื้นที่ ที่อาจได้รับผลกระทบ (Hot zone)
4. เก็บข้อมูลสถานะสุขภาพประชาชนที่อยู่ในพื้นที่เสี่ยงโดยใช้แบบประเมินสุขภาพทั่วไป ที่ร่วมกับโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต าบลในพื้นที่สร้างขึ้น
4. จัดให้มีการสื่อสารความเสี่ยงผลกระทบต่อสุขภาพให้กับประชาชนในพื้นที่เสี่ยง
5. จัดให้มีการตรวจคัดกรองสุขภาพที่จ าเป็นแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะการตรวจตามความเสี่ยงของสาร
มลพิษที่อาจปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม เช่น ตรวจเลือดหาการปนเปื้อนสารโลหะหนัก การ X-ray ปอดเป็นต้น
5. วางระบบเชื่อมโยงการส่งต่อไปยังหน่วยบริการสาธารณสุข เพื่อตรวจวินิจฉัย รักษาและฟื้นฟู ผู้ที่ได้รับ
ผลกระทบในพื้นที่
6. สนับสนุนการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินร่วมกับหน่วยงานในพื้นที่ โดยจัดให้มีการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุอย่างน้อยปี
ละ
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563