Page 212 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 212

207


                                                    ตัวอย่ำงโครงกำร 6

               แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม/ กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..................................
               เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การก าจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก
               เรียน ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ..................................................
                        ด้วย หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ....รพ./รพ.สต./กองสาธารณสุข... มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/
               กิจกรรม การก าจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคไข้เลือดออก ในปีงบประมาณ ........ โดยขอรับการสนับสนุน
               งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ .......................... เป็นเงิน ...................... บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/
               โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
               ส่วนที่ : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
               หลักกำรและเหตุผล

                        ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ ากว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้
               บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนท าให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของ
               ยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ านิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ าขัง เช่น โอ่งน้ า แจกันดอกไม้
               ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ าได้ทุกชนิด   พื้นที่เทศบาล/ต าบล.......มีประชากรทั้งหมด........คน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีการ
               ระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล 3 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยเป็นไข้เลือดออก ดังนี้ พ.ศ......จ านวน.... ราย  คิดเป็นร้อยละ..... ใน
               ปีพ.ศ...... จ านวน.....ราย คิดเป็นร้อยละ.....และ พ.ศ.......จ านวน........ราย คิดเป็นร้อยละ...... ดังนั้น เพื่อไม่ให้มีการระบาดของ

               โรคไข้เลือดออก จึงต้องมีการป้องกันโดยการท าลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้
               ความส าคัญจึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง น าไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
               วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
                        1. เพื่อก าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ ายุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
                        2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกของประชาชน
                        3. เพื่อลดความชุกของลูกน้ ายุงลาย
                        4. เพื่อให้ประชาชนทั่วไปเกิดพฤติกรรมในการท าลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ
                        5. ไม่พบลูกน้ ายุงลายในภาชนะรองรับน้ าในบ้าน (Container Inde...........=0) และบริเวณบ้าน

                          (House Index.=0)
               วิธีด ำเนินกำร
                        1. แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงานตามโครงการและหน้าที่รับผิดชอบ
                        2. ร่วมกันประชุมวางแผน ก าหนดพื้นที่เป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการด าเนินงานโครงการ
                          - แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
                          - ประชาสัมพันธ์โครงการและประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
                        3. ประชุมชี้แจงแนวทางการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการจัดการขยะในครัวเรือน และการปรับปรุงสิ่งแวดล้อม

                          ให้ชุมชน ทุกหมู่บ้านที่ประชุมผู้น าชุมชน พร้อมคัดเลือกตัวแทนครอบครัวและผู้สูงอายุที่ยินดีเลี้ยงปลาหาง
                          นกยูงเป็นแหล่งขยายพันธุ์ให้เข้าร่วมโครงการปรับปรุงให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน
                        4.  จัดเตรียมสื่อการจัดการขยะ เครื่องมือและอุปกรณ์ในการจัดการขยะ และการแยกขยะเพื่อการน ากลับไปใช้
                            ประโยชน์ใหม่ (การจัดเก็บและก าจัดด้วยถังขยะแยกประเภท และการแปรรูปขยะให้เป็นประโยชน์)
                        5.  แต่งตั้งคณะท างาน อสม.และตัวแทนครัวเรือนหรือผู้น าที่สนใจและมีความสามารถในการท างานด้านปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
                            และจัดประชุมเพื่อก าหนดแนวทางท างานร่วมกัน
                        6. จัดอบรมให้ความรู้และหาแนวทางในการจัดการขยะและการควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วยหลัก 5 ป. และการจัดการขยะ





                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217