Page 26 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 26
21
ตัวอย่ำงโครงกำร 2
แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่……………….……
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมฝึกทักษะการปฏิบัติเรื่องการดูแลสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร/การออกก าลัง
กาย/การนอนหลับ/การดูแลสุขภาพช่องปากกลุ่มวัยท างาน
เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่…………………….
ด้วย .............................................(ระบุชื่อ) หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข มีความประสงค์จะท า
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ฝึกทักษะการปฏิบัติเรื่องการดูแลสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร/การออกก าลังกาย/การนอนหลับ/
การดูแลสุขภาพช่องปาก ในปีงบประมาณ……………… โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
หรือพื้นที่……………… เป็นเงิน……………….. บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ส่วนที่ 1: รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรเหตุผล
ปัจจุบันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นโรคที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงชายที่มีรอบเอวมากกว่า 90 ซม.และ
ผู้หญิงที่มีรอบเอวมากกว่า 80 ซม.เป็นสาเหตุส าคัญของโรคหวานประชาชนจังหวัดอุบลราชธานี มีแนวโน้มเกิดการเจ็บป่วย
ด้วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้น ในปี2561 ประชาชนจังหวัดอุบลราชธานีป่วยด้วยโรคเบาหวานจ านวน 91,442 คน โรคความดันโลหิต
สูง จ านวน 153,110 คน โรคหลอดเลือดหัวใจ จ านวน 6,988 คนโรคหลอดเลือดสมอง จ านวน 10,012 คน และประชากร
อายุ 15ปีขึ้นไปที่ได้คัดกรองภาวะอ้วนและมี BMI≥25จ านวน 241,561 คน และมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ส านักงานสาธารณสุข
จังหวัดอุบลราชธานี จึงได้จัดท าโครงการ “พัฒนาศักยภาพแกนน าส่งเสริมสุขภาพHealth leader จังหวัดอุบลราชธานี ปี 2561”
โดยสร้าง Health leader น าร่องใน 10 อ าเภอๆ ละ 2 ต าบล โดยให้ Health leader สามารถดูแลตนเองได้และไปขยายต้นแบบด้าน
สุขภาพ ในพื้นที่ชุมชน คนในครอบครัว เพื่อนบ้าน เพื่อนร่วมงาน และคนในชุมชน เพื่อให้ประชาชนวัยท างานสามารถลดน้ าหนักและดูแล
สุขภาพของตนเอง ได้อย่างถูกวิธีและมีสุขภาพแข็งแรงปราศจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยท างานมีสุขภาพดี ไม่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จ านวน ………. คน
2. เพื่อให้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างถูกวิธีจ านวน ……… คน
วิธีด ำเนินกำร
ในชุมชน 1. คัดเลือกแกนน า HLจากอสม./อสค./จิตอาสา ที่สนใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและขยาย
เครือข่ายการดูแลสุขภาพให้แก่คนในครอบครัว/หมู่บ้าน/ชุมชน
2. จัดประชุมและฝึกทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่พึงประสงค์ 4 ด้านให้แก่แกนน าฯ
3. ชั่งน้ าหนัก/วัดส่วนสูง/วัดรอบเอว HL ทุกคนและทุก 3 เดือนเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
4.หลังจากนั้นให้ HL ดูแลสุขภาพตนเองด้านการบริโภคอาหารและการออกก าลังกายลดน้ าหนัก/รอบเอว/BMI
ให้เข้าสู่เกณฑ์ปกติ และพฤติกรรมสุขภาพด้านการนอนหลับและการดูแลสุขภาพช่องปาก
5. ขยายเครือข่ายต่อให้แก่คนในครอบครัว/เพื่อนบ้าน/หมู่บ้าน/ชุมชนให้มีความรู้และมีทักษะในพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ 4 ด้าน ขยายต่อไปเรื่อยๆจนท าให้ครอบครัว/หมู่บ้าน/ชุมชน มีความรู้/มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์
4 ด้าน/ประชาชนมีค่า BMI ปกติ ป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และประชาชนมีสุขภาพดี
6. ให้ อปท.เข้ามามีส่วนร่วมในการสนับสนุนงบประมาณ และผลักดันให้เกิดนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ ใน
ชุมชน/ หมู่บ้าน
ในสถำนประกอบกำร
1. คัดเลือกแกนน า/จิตอาสาในสถานประกอบการที่สมัครใจ ที่สามารถดูแลสุขภาพ ดูแลตนเอง และผู้อื่นได้
2. จัดประชุมให้ความรู้ และทักษะการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 4 ด้านให้แก่ HL
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563