Page 40 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 40

35


                                                    ตัวอย่ำงโครงกำร 3

               แบบเสนอแผนงำน/ โครงกำร/ กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..............
               เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพกลุ่มคนพิการและทุพลภาพในชุมชนด้วยการแพทย์แผนไทย
               เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล................................
                        ด้วย หน่วยงาน.................................... มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพ
               กลุ่มคนพิการและทุพลภาพในชุมชน ด้วยการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
               กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล.................. เป็นเงิน.....................บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/
               โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
               ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำรกิจกรรม ลงรำยละเอียด)
               หลักกำรและเหตุผล

                        ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาตั้งแต่ก่อน
               สมัยกรุงสุโขทัย ซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคม วัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ และ
               รูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวด การผดุงครรภ์  ตลอดจนการรักษาทางจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือคาถาต่างๆ
               ซึ่งสามารถตอบสนองต่อความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพ และความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการ
               พัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ท าให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้าน
               การจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพเดิม
               ที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่ ขาดการสืบทอดและผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะมี
               จ านวนลดลง ท าให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้ง ๆ ที่ความรู้เหล่านี้สามารถ
               ช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้  อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทย ทั้งที่เป็นตัวหมอพื้นบ้าน ต ารา
               พันธุ์พืชที่ใช้เป็นยา สมุนไพร วิธีการการรักษาโรค ตลอดจนสังคมวัฒนธรรม ประเพณี  และวิถีชีวิต ฯลฯ  มีความส าคัญและ
               เป็นสิ่งล้ าค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ ฟื้นฟูภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับประเทศไทย เพื่อเป็นมรดกต่อ
               ลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้
                        จังหวัดอุบลราชธานี เป็นตักศิลาทางด้านการแพทย์แผนไทยที่ส าคัญของทางภาคอีสานตอนใต้ และ มีหมอพื้นบ้าน
               และแพทย์แผนไทยอยู่เป็นจ านวนมาก ดังนั้น กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้ให้ความส าคัญและได้

               ด าเนินโครงการที่เกี่ยวเนื่องกับการสืบทอด ฟื้นฟู อนุรักษ์ และพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านมาอย่าง
               ต่อเนื่อง ได้ด าเนินการจัดตั้งฐานการเรียนรู้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย หมอพื้นบ้านขึ้น และมีการด าเนินกิจกรรมไปแล้ว
               บางส่วน ในการนี้ เพื่อให้ฐานการเรียนรู้ฯ ที่ตั้งขึ้นมีกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนใน
               จังหวัดอุบลราชธานี เห็นคุณค่าและความส าคัญของฐานการเรียนรู้ฯ จึงได้จัดท าโครงการสืบสานภูมิปัญญาพืชสมุนไพร
               พื้นบ้าน เพื่อพัฒนาสู่ฐานการเรียนรู้ที่ดูแลสุขภาพของคนในชุมชนอย่างยั่งยืนขึ้น เพื่อสนับสนุนให้ฐานการเรียนรู้ฯ กลายเป็น
               ศูนย์กลางในการรวบรวมองค์ความรู้  การสร้างกระบวนการเรียนรู้ การอนุรักษ์ การสืบทอด การฟื้นฟู และการพัฒนาภูมิปัญญา

               การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรตามต าราการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านอย่างครบวงจร ทั้งนี้ กลุ่มงานการแพทย์แผน
               ไทยและการแพทย์ทางเลือก มีความเชื่อว่าภูมิปัญญาการแพทย์  แผนไทยเหล่านี้จะสามารถพัฒนาต่อยอด และเข้าไปเชื่อมต่อ
               กับการแพทย์กระแสหลักในการดูแลรักษาสุขภาพกายและจิตของประชาชนในจังหวัดอุบลราชธานีได้ และส่งผลให้ประชาชน
               ในจังหวัดอุบลราชธานีมีคุณภาพกาย คุณภาพจิต และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอย่างยั่งยืน
               วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
                        1.  เพื่อรวบรวมพันธุ์พืชสมุนไพรพื้นบ้านที่หายากและใกล้สูญพันธุ์ในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และน ามาจัดท า
                            สวนสมุนไพร
                        2.  เพื่อพัฒนาฐานการเรียนรู้แบบมีชีวิตส าหรับใช้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาเกี่ยวกับพืชสมุนไพรให้กับ ประชาชนที่

                            สนใจ ตลอดจนให้บริการองค์ความรู้ทางด้านสมุนไพรแก่ประชาชนที่สนใจ




                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45