Page 35 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 35

30


                                                    ตัวอย่ำงโครงกำร 1

               แบบเสนอแผนงำน/ โครงกำร/ กิจกรรม กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..............
               เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพกลุ่มคนพิการและทุพลภาพในชุมชนด้วยการแพทย์แผนไทย
               เรียน ประธานกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล................................
                        ด้วย หน่วยงาน................. มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม การฟื้นฟูสมรรถภาพกลุ่มคน
               พิการและทุพลภาพในชุมชน ด้วยการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2563 โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุน
               หลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนต าบล.................. เป็นเงิน..... บาท โดยมีรายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
               ส่วนที่ 1 : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำรกิจกรรม ลงรำยละเอียด)
               หลักกำรและเหตุผล
                         ส านักงานสถิติแห่งชาติได้ท าการส ารวจจ านวนคนพิการ ในปี พ.ศ. 2550 พบว่าประเทศไทย มีประชากรที่มีความ

               พิการ จ านวน 1.9 ล้านคนหรือคิดเป็นร้อยละ 2.9 ของประชากร ทั้งประเทศ และส าหรับจังหวัดอุบลราชธานี มีผู้พิการทุก
               ประเภทรวมกันทั้งหมด ในปี 2560 จ านวน 72,745 คน (กุมภาพันธ์ 2560, กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)
               ในจ านวนนี้จัดเป็นผู้พิการทางการเคลื่อนไหวมากที่สุด รองลงมาคือทางการได้ยินและการมองเห็น นอกจากนี้ยังมีผู้พิการอีก
               หลายประเภทที่อยู่ในชุมชนที่บางส่วนยังเข้าไม่ถึงระบบการดูแลที่เหมาะสม ทั้งผู้พิการทางสติปัญหา การเรียนรู้ ออทิสทิก
               หรือทางด้านจิตเวช ผู้พิการบางประเภทสามารถออกจากบ้านเพื่อการไปประกอบอาชีพ สร้างรายได้ และสามารถที่จะ
               ด ารงชีวิตด้วยตนเองได้บ้าง ตามศักยภาพที่สามารถท าได้ ในขณะที่อีกหลายประเภท หลายคนที่ไม่สามารถออกจากบ้านได้ ไม่

               สามารถประกอบอาชีพได้ และยังคงเป็นภาระให้กับผู้ดูแลหรือสมาชิกในครัวเรือนด้วย และนอกจากนี้ ยังพบปัญหาเกี่ยวกับ
               เรื่องของความไม่เข้าใจ หรือทัศนคติที่เป็นด้านลบ ที่คนทั่วไป หรือญาติของคนพิการเอง ที่มองคนพิการว่า ไม่สามารถ
               ช่วยเหลือตนเองได้ ไม่สามารถประกอบอาชีพ หรือท ากิจวัตรต่างๆ ด้วยตนเองได้ หากได้รับการดูแลหรือแนะน าที่เหมาะสม
               และยังมองว่า คนพิการก็ยังคงเป็นภาระของครอบครัวหรือผู้ดูแลอยู่ ซึ่งการมองคนพิการด้วยทัศนคติแบบนั้นอาจส่งผลกระทบ
               ต่อคนพิการในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะในด้านจิตใจ ที่อาจท าให้ผู้พิการเกิดความรู้สึกว่าตนเองเป็นภาระสังคมมากยิ่งขึ้นไปอีก
                         อย่างไรก็ตาม พบว่า ผู้พิการจ านวนไม่น้อยที่อยู่ในระยะที่จ าเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูอย่างเร่งด่วนและต่อเนื่อง
               เหมาะสมและถูกต้องด้วย เนื่องจากพบว่า ส่วนหนึ่งสามารถที่จะกลับฟื้นฟูสภาพร่างกายให้ดีขึ้นได้และอีกส่วนหนึ่งจะสามารถ
               ช่วยลดปัญหาโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดจากปัญหาสุขภาพเดิมที่มีอยู่ ซึ่งถ้าไม่ได้รับการดูแลหรือฟื้นฟูที่เหมาะสม คนพิการ

               กลุ่มดังกล่าวก็อาจจะมีปัญหาที่รุนแรงและซับซ้อนมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการดูแลรักษาที่ยากมากขึ้นด้วย เพื่อให้การดูแล
               และฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการและผู้ทุพพลภาพในชุมชนได้รับการดูแลที่เหมาะสม ต่อเนื่องและสอดคล้องกับความจ าเป็น
               ทางการแพทย์ การส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมในการดูแลและฟื้นฟูคนพิการในชุมชน จึงเป็นเรื่องเร่งด่วนและมีความจ าเป็นอย่าง
               ยิ่งที่ควรด าเนินการ เพราะนอกจากจะช่วยฟื้นฟูสภาพของผู้ที่สามารถฟื้นฟูได้แล้ว ยังสามารถช่วยลดโอกาสในการเกิด
               ภาวะแทรกซ้อนกับคนพิการเพิ่มขึ้น ที่เป็นผลจากการได้รับการดูแลที่ไม่เหมาะสมได้ด้วย ซึ่งการดูแลในสาขาการแพทย์แผน
               ไทย ก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่พบว่ามีแนวทางในการดูแลเพื่อการรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพและการช่วยเหลือผู้พิการหลายๆ
               ประเภท ให้สามารถฟื้นฟูอย่างได้ผล เป็นที่พึงพอใจของผู้รับบริการ และยังเป็นแนวทางการดูแลที่เป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน

               อย่างกว้างขวาง ดังนั้น การด าเนินโครงการเพื่อการดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพของคนพิการและทุพลภาพในชุมชนด้วยการน า
               แนวทางการแพทย์แผนไทยเข้ามาใช้จึงนับว่าเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่น่าสนใจ และจะช่วยท าให้เกิดประโยชน์ต่อคนพิการได้เป็น
               อย่างดี
               วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
                         1. เพื่อให้ผู้พิการและทุพลภาพสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทยได้อย่างเท่าเทียมกัน
                         2. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการและทุพพลภาพในชุมชนได้รับการพัฒนาความรู้เรื่องการฟื้นฟูสมรรถภาพด้านการแพทย์
                           แผนไทย





                          ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี

                                                          คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40