Page 91 - เอกสารกองทนสขภาพตำบล
P. 91
86
ตัวอย่ำงโครงกำร 3
แบบเสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม/ กองทุนหลักประกันสุขภำพองค์กำรบริหำรส่วนต ำบล..................................
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภคในครัวเรือนและพัฒนาน้ าประปาชุมชน
เรียน ประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ..................................................
ด้วย หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ....รพ./รพ.สต./กองสาธารณสุข... มีความประสงค์จะจัดท าแผนงาน/โครงการ/
กิจกรรม เฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภคในครัวเรือนและพัฒนาน้ าประปาชุมชน ในปีงบประมาณ ........ โดยขอรับการสนับสนุน
งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ............................................................ เป็นเงิน.......... บาท โดยมีรายละเอียด
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
ส่วนที่ : รำยละเอียดแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม (ส ำหรับผู้เสนอแผนงำน/โครงกำร/กิจกรรม ลงรำยละเอียด)
หลักกำรและเหตุผล
เนื่องจากภารกิจในการจัดบริการน้ าสะอาดในชุมชน เป็นบทบาทและหน้าที่หนึ่งซึ่งกระทรวงสาธารณสุขจะต้อง
ส่งเสริมให้ประชาชนมีน้ าสะอาดเพื่อเป็นน้ าดื่มและใช้อย่างเพียงพอ หากประชาชนในชุมชนมีน้ าสะอาดส าหรับดื่มและใช้ไม่
เพียงพอ หรือเพียงพอแต่ไม่เหมาะส าหรับการดื่มและใช้ก็จะเป็นบ่อเกิดของโรคระบาดขึ้นได้ การปฏิบัติภารกิจในด้านการ
จัดหาและพัฒนาน้ าสะอาด เพื่อการอุปโภคและบริโภคของประชาชนในรูปแบบต่างๆ โดยเฉพาะในชนบท อาทิ ระบบประปา
หมู่บ้าน บ่อน้ าบาดาล บ่อน้ าตื้นและภาชนะเก็บน้ าฝน ส าหรับในเขตเมือง มีการประปานครหลวงและการประปาส่วนภูมิภาค
ให้บริการน้ าประปาท าให้ประชาชนมีน้ าอุปโภคบริโภคในปริมาณที่เพียงพอ อย่างไรก็ตามจากข้อมูลการเฝ้าระวังคุณภาพ
น้ าประปาและน้ าบริโภคในครัวเรือนปี 2561 พบว่ามีจ านวนประปาหมู่บ้าน 1,719 แห่ง คุณภาพน้ าประปาส่วนใหญ่ไม่ผ่าน
เกณฑ์มาตรฐาน จะต้องปรับปรุงให้ดีขึ้นเพื่อปกป้องผู้ใช้น้ าจากเชื้อโรคและสิ่งปนเปื้อนในน้ าที่อาจท าให้เกิดการเจ็บป่วยได้
และพัฒนาน้ าประปาชุมชนสู่มาตรฐานน้ าประปาดื่มได้เพื่อให้ประชาชนได้บริโภคน้ าที่ได้มาตรฐานและมีสุขภาพดี
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด
1. เพื่อให้การจัดบริการน้ าบริโภคที่สะอาดปลอดภัยให้ครอบคลุมชุมชนอย่างเพียงพอ
2. เพื่อพัฒนาคุณภาพน้ าบริโภคให้มีคุณภาพอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง
3. เพื่อป้องกันการเจ็บป่วยของประชาชนจากโรคที่เกิดจากน้ าเป็นสื่อ
4. เพื่อยกระดับความเจริญทางด้านสาธารณสุขของประเทศให้ทัดเทียมกับประเทศที่เจริญแล้ว
วิธีด ำเนินกำร
1. ส ารวจข้อมูลพื้นฐานแหล่งน้ าบริโภคของครัวเรือนในพื้นที่รับผิดชอบ ครอบคลุมจ านวนหลังคาเรือน และ
แหล่งน้ าบริโภคได้แก่ น้ าประปา น้ าบาดาล น้ าบ่อตื้น น้ าฝน น้ าบรรจุขวด และน้ าตู้หยอดเหรียญ ตาม
แบบส ารวจข้อมูลแหล่งน้ าบริโภคครัวเรือน
2. สุ่มเก็บตัวอย่างน้ าบริโภคแต่ละประเภท ส่งตรวจวิเคราะห์ ทางด้านกายภาพ เคมีและแบคทีเรีย จ านวนอย่าง
น้อย 1 ครั้ง เพื่อประเมินคุณภาพน้ าบริโภคครัวเรือนก่อนและหลังการด าเนินงานตามวิธีการสุ่มเก็บ
ตัวอย่างน้ าบริโภค
3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์องค์ความรู้ให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับน้ า
บริโภคสะอาดปลอดภัย และผลกระทบต่อสุขภาพผ่านสื่อต่างๆ หรืออบรมอาสาสมัครเฝ้าระวังคุณภาพน้ า
บริโภคในชุมชนเพื่อให้อาสาสมัครมีความรู้ ความเข้าใจ และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับน้ าบริโภคสะอาด
ปลอดภัยและผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดทั้งส่งเสริมให้มีการเฝ้าระวังคุณภาพน้ าบริโภคในชุมชนและ
ครัวเรือน
4. ประเมินผลคุณภาพน้ าตามเกณฑ์คุณภาพน้ าบริโภคกรมอนามัย พ.ศ. 2553 เพื่อประเมินระดับการบริการ
น้ าบริโภค
ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดอุบลรำชธำนี
คู่มือกำรปฏิบัติงำนกองทุนหลักประกันสุขภำพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ 2563