Page 21 - จุลสารโรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี 70
P. 21
การวิ่งท�าให้ร่างกายทุกส่วนได้ออกก�าลังกาย ในระยะ สุดท้ายนี้ แม้เราจะวิ่งช้ายังไง ก็ดีกว่านอนติดบนเตียง
เริ่มต้นควรวิ่งเหยาะๆ ก่อน หากรู้สึกเหนื่อย มากควรเปลี่ยนเป็น ครับ ขยับวันนี้คือการออกก�าลังกายครับ แต่ถ้าขยับตอนใกล้ตาย
เดิน เมื่อหายเหนื่อยแล้วจึงวิ่งต่อ เมื่อร่างกายแข็งแรงดีแล้วจึงเพิ่ม คือการท�ากายภาพบ�าบัดนะครับ หวังว่าสาระน่ารู้วันนี้ จะช่วยปลุก
การวิ่งให้มากขึ้น โดยเพิ่มระยะเวลา หรือระยะทางหรือความเร็ว พลังในตัวทุกคนออกมาวิ่ง เพื่อจะได้ค้นพบโลกใหม่ของตัวเองอัน
ในการวิ่งทีละน้อยครับ ใกล้นี้นะครับ ...หมอแชมป์...
หลักของการวิ่ง โดยทั่วๆ ไป
จะมีหลักการประมาณนี้ครับ
1. ใช้ท่าวิ่งที่เป็นธรรมชาติ ไม่เกร็ง เวลาลงเท้าใช้ส้นเท้า
สัมผัสพื้นก่อนจึงวางเท้าเต็ม แล้วยกส้นเท้าขึ้น เข่าไม่ยกสูงมาก
และไม่เหยียดสุดล�าตัว ศีรษะตั้งตรงข้อศอกงอเล็กน้อย และก�ามือ
หลวมๆ
2. ควรใช้ความเร็วที่รู้สึกเหนื่อยจนต้องหายใจแรงแต่ไม่
ถึงกับต้องหายใจทางปากจนหอบ
3. ก่อนและหลังการวิ่งทุกครั้งควรอบอุ่นร่างกาย และ
ผ่อนคลายร่างกายประมาณ 4-5 นาที โดยวิ่งเหยาะๆ ด้วยความเร็ว
ที่น้อยกว่าที่ใช้วิ่งจริง และท�ากายบริหารเหยียดกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ
ของร่างกาย
อาการอะไรที่มีแล้วควรหยุดวิ่ง ไม่ควรฝืน ได้แก่ เวียน
ศีรษะ คลื่นไส้ หรือหน้ามืดเป็นลม หายใจไม่ทันใจสั่น แน่นเจ็บที่
บริเวณหน้าอก อันนี้ส�าคัญมาก โดยจะเห็นว่า นักวิ่งหลายท่านมี
กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันขณะวิ่ง ถ้ามีอาการดังกล่าวขณะวิ่ง
ควรชะลอความเร็วในการวิ่งลง ถ้ายังมีอาการอยู่ให้เปลี่ยนเป็นเดิน
หากไม่หายให้หยุดวิ่งหรือนอนราบจนกว่าอาการจะดีขึ้น การวิ่งใน
วันต่อไปควรลดความเร็วและระยะทางลง ถ้าเห็นว่าอาการยังไม่
หายให้รีบปรึกษาแพทย์ครับ
UDONTHANI CANCER HOSPITAL 21