Page 5 - C:\Users\OS\Documents\Flip PDF Professional\คู่มือ GIVE\
P. 5
วัฒนธรรมองค์กร
มีความสำาคัญอย่างไร
วัฒนธรรมองค์กร หรือ “ค่านิยมร่วม” (Shared ซึ่งในปัจจุบันองค์กรชั้นนำาหลายแห่ง เช่น บริษัท
Value) ถือเป็นเครื่องมือทางการบริหารและการพัฒนา ปูนซีเมนต์ไทย บริษัท ปตท.จำากัด บริษัท โตโยต้า
องค์กรรูปแบบหนึ่ง การที่องค์กรมีวัฒนธรรมองค์กรเป็น มอเตอร์ จำากัด หรือ บริษัท DTAC เป็นต้น ได้ตระหนัก
ของตนเองในทางที่ดีมีรูปแบบการทำางานและค่านิยมที่ และเห็นความสำาคัญของเรื่องดังกล่าว จึงหันมาสร้าง
เน้นความร่วมมือ ร่วมใจกันการทำางานเป็นทีมการทำางาน และปลูกฝังวัฒนธรรม หรือค่านิยมร่วมโดยเชื่อว่าหาก
โดยมุ่งเน้นคุณภาพ มาตรฐาน และลูกค้าเป็นสำาคัญ ฯลฯ พนักงานทุกคนประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมที่องค์กร
วัฒนธรรมเช่นนี้ ย่อมส่งผลให้องค์กรดำาเนินไปได้อย่าง กำาหนดไว้ จะเป็นแรงผลักดันให้องค์กรมีระบบการบริการ
ราบรื่น ธุรกิจมีความเข้มแข็ง และยั่งยืน งานที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ และบรรลุเป้าหมายทางธุรกิจที่
กำาหนดไว้
วัฒนธรรมมีอิทธิพลต่อการประพฤติปฏิบัติ
ของคนที่ทำางานภายในองค์กร สะท้อนให้เห็นกระบวนการ
คิด การตัดสินใจ รวมถึงการวางแผนยุทธศาสตร์
ขององค์กร และที่สำาคัญ วัฒนธรรม มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงองค์กร เพราะองค์กรที่มีวัฒนธรรมที่
ไม่เข้มแข็ง หรือไม่ยืดหยุ่น จะทำาให้วัฒนธรรมกลาย
เป็นอุปสรรคต่อการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ไม่สามารถ
ปรับตัวได้ทันต่อทิศทางการดำาเนินธุรกิจขององค์กร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคสภาวะการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดจากเทคโนโลยีดิจิทัลทำาให้เกิดรูปแบบธุรกิจขึ้น
มาใหม่ (Digital Disruption) เช่นนี้ การบริหาร
สมัยใหม่จึงต้องกำาหนดวัฒนธรรมขององค์กรที่พึง
ประสงค์ และสร้างวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับทิศทาง
ของธุรกิจ
2