Page 3 - test_baanpakey
P. 3
2 7
จากใจทีมงาน
ก้าวข้ามขีดจำากัดเพื่อสร้างสุขภาวะคนใต้ CHECK IN บ้านงามดูพลี
งานสร้างสุขคนใต้ครั้งล่าสุด นอกจากจะมีชื่องานยาวจนน่าจะติดสถิติระดับชาติแล้ว ชื่องานยังยิ่งใหญ่มากจนขนลุก ด้วยคำาสำาคัญที่ใส่ไว้
แฝงนัยยะที่ท้าทาย ว่าด้วยการก้าวข้าม “ขีดจำากัด” เพื่อขับเคลื่อนสร้างสุขภาวะให้กับภาคใต้
“บ้านภาคี” จึงไปค้นคว้าเอกสารวิชาการที่กล่าวถึง “ขีดจำากัดของคนในการทำางานที่ต้องมีส่วนร่วมกันหลายๆ ฝ่าย” พบว่า สสส.ร่วมจุดประกายใช้จักรยานเชื่อมการเดินทางสาธารณะ
มีนักวิชาการด้านสังคมมานุษยวิทยา จำาแนกแจกแจงไว้อย่างน่าสนใจ และหากเราจะนำามาคลี่ขยายอภิปรายกันต่อ ก็น่าจะทำาให้เราวิเคราะห์ได้
ว่า ขีดจำากัดที่คนใต้จะต้องก้าวข้ามไป มีอะไร มากน้อย แค่ไหน อย่างไร
เอาเฉพาะหัวใจสำาคัญ คือ ประเด็นที่เรียกว่า “ขีดจำากัดในการอดรนทนได้ในการมีปฏิสัมพันธ์กันไปมา” (Limits to tolerance of
interaction) ไม่ว่าจะเป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงาน ก้าวข้ามสายวิชาชีพ ก้าวข้ามแนวคิดที่แตกต่าง ระบบข้อมูลที่แตกต่าง การจัดแบ่งขั้น
ชั้น อันดับ ที่ต่างกัน แผนงานและกลวิธีดำาเนินงานที่ต่างกัน ขีดจำากัดในการตระหนักรู้ปัญหาที่ไม่เท่ากัน ความถนัดคุ้นเคยและความชอบมากกว่า
ที่ต่างกัน ขีดจำากัดในการแชร์ทรัพยากรระหว่างกัน การใช้ภาษา ศัพท์เทคนิค ที่ต่างกัน รวมทั้งเขตแดนหรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ที่ใช้ต่างกัน
นอกจากนี้ยังมี ขีดจำากัดด้านบุคคล เช่น สุขภาพ อารมณ์ ค่านิยม อคติส่วนตัว ศาสนาและความเชื่อ วัฒนธรรมประเพณี ไปจนถึงเพศ
ความรู้ สถานะทางการเงินและสังคม และสุดท้าย ขีดจำากัดระหว่างคนต่างรุ่นต่างเจนเนอเรชั่นที่ต้องมามีปฏิสัมพันธ์กันและก้าวไปพร้อมกัน
หากไม่มีความมุ่งหมายที่กล้าแกร่ง หนักแน่น แล้ว ด้วยขีดจำากัดมากมายสุดพรรณา คนใต้คงไม่ตั้งธงใหญ่ ซึ่งเราเชื่อว่า คนใต้ตระหนักรู้
ปัญหาและจะก้าวข้ามไปได้ …เริ่มต้นที่เวทีนี้เลย
แหล่งข้อมูล บทความใน Transnational Association ฉบับที่ 28 ปี 1976 หน้า 444-446 https://www.laetusinpraesens.org/
docs/limit.php เมื่อวันที่ 9 มีนาคม ที่อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำานักงานกองทุนสนับสนุนการ
ด้วยรัก จากทีมงานบ้านภาคี สร้างเสริมสุขภาพ(สสส.) ร่วมกระทรวงคมนาคม กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย
และสถาบันการเดินและการจักรยานไทย จัดประชุมการส่งเสริมการเดินและการใช้จักรยานในชีวิตประจำาวัน ครั้งที่ 6 ภายใต้หัวข้อ
“เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยเดิน จักรยาน เพื่อส่งเสริมสุขภาพคนและเมือง : Mode Shift , Bike and
Walk to Public Transport Connection” โดยมีนายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เป็นประธานในพิธี
เปิดการประชุมและปาถกฐาพิเศษ “เปลี่ยนรูปแบบการเดินทาง เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะ ด้วยเดิน จักรยาน เพื่อสุขภาพคนและเมือง”
ซึ่งจะได้ทั้งสุขภาพคนและสุขภาพเมือง ดังมีผลการศึกษาชี้หากอำานวยความสะดวก “จุดจอดจักรยาน” สนใจใช้เดินทางมากขึ้นถึงร้อยละ
70 แถมใช้จักรยานแทนรถยนต์สัปดาห์ละ 1 วัน ช่วยประหยัดค่าน้ำามันได้เฉลี่ย 5,200 บาท/คัน/ปี
คนยุคนี้มักถามตัวเองอยู่บ่อยๆ ว่า “ความสุข” คืออะไร สสส.ใช้พื้นที่เป็นฐานสร้างสุขภาวะ หนุนหอการค้าจังหวัดพังงา และภาคีเครือข่าย
ทำาโครงการ “พังงาแห่งความสุข”
นิทรรศการ HAPPY 8 ความสุขไม่รู้จบ พลิกความคิด คลิกชีวิตให้เจอสุข กับ HAPPY 8 ความสุข 8 ประการ ถูกจัดขึ้นเพื่อช่วยให้เราค้นพบคำาตอบ
ของความสุขแบบไม่รู้จบ และสามารถนำาไปปรับใช้กับตนเองรวมถึงคนรอบข้างได้ 15 มีนาคม 2561 ที่ห้องประชุมกระทะทอง กอล์ฟ รีสอร์ท แอนด์ สปา หอการค้า
จังหวัดพังงา ร่วมกับสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) โดย
นิทรรศการนี้จะพาคุณปรับสมดุลให้กับชีวิต ด้วยความสุข 8 ประการ สำานักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ MOU
ได้แก่ HAPPY BODY สุขจากการมีสุขภาพดี HAPPY BRAIN สุขจากการ การสนับสนุนปฏิบัติการสู่ “พังงาแห่งความสุข” กับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
พัฒนาสมองเพิ่มสติปัญญา HAPPY FAMILY สุขจากความสัมพันธ์ใน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันอาศรมศิลป์ โดยมี ศ.ดร.สมบัติ ธำารงธัญวงศ์
ครอบครัว HAPPY DEART สุขจากการแบ่งปันน้ำาใจให้คนรอบข้าง HAPPY อธิการบดีมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ และนายสมพร ใช้บางยาง ประธานเครือข่ายร่วมสร้าง
MONEY สุขจากการจัดการเงินเป็น HAPPY RELAX สุขจากการผ่อนคลาย ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ (สสส.) ร่วมแสดงปาฐกถา และยังมีเสวนาเรื่องวิสัยทัศน์
HAPPY SOCIETY สุขจากการช่วยเหลือสังคม และสุดท้าย HAPPY SOUL พังงา-อันดามัน Go Green โดยภาคประชาสังคม ภาคการท่องเที่ยว และภาคนักวิชาการ
สุขจากจิตวิญญาณ สำาหรับโครงการ “พังงาแห่งความสุข “นี้ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์การสร้างตัวแบบการพัฒนาประกอบด้วย การท่องเที่ยว
เกษตร พลังงาน โรงแรมปลอดโฟม , ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนแนวคิด และจัดทำาผังการพัฒนาจังหวัดสู่ปฏิญญา “พังงาแห่งความสุข” ,
เพราะความสุขจะเกิดได้จากการจัดการความสุขทั้ง 8 ด้านให้เกิดความสมดุล ทั้งในระดับ ตัวเอง ครอบครัว และสังคม คุณก็สามารถมีความสุข ยุทธศาสตร์การสร้างความรู้ เพื่อการขับเคลื่อนด้วยฐานความรู้ และยุทธศาสตร์การสื่อสารสาธารณะและการจัดการความรู้ ทั้งนี้
แบบไม่รู้จบได้! สำานักสนับสนุนสุขภาวะชุมชน (สำานัก 3) ของ สสส. ใช้หลักการ “พื้นที่เป็นฐานในการพัฒนา” (Area-Based Development-ABD) และ
เพื่อนภาคีทั่วประเทศสามารถเข้าชมนิทรรศการได้ฟรีที่อาคารศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ สสส. (ซอยงามดูพลี กรุงเทพฯ) หรือหากอยู่ไกลก็สามารถเข้าชม คำานึงถึงสุขภาพในทุกนโยบายของชุมชนท้องถิ่น (Health in All Policies-HiAP) ได้สนับสนุนโครงการ “พังงาแห่งความสุข” ที่มีหอการค้า
แบบออนไลน์ได้ทาง www.thaihealthcenter.org/exhibitions/happy8 ... Together We Can ร่วมกันเราทำาได้ จังหวัดพังงาเป็นผู้รับผิดชอบโครงการ