Page 6 - test_baanpakey
P. 6
4 5
ผศ.ดร.ภก.พงศ์เทพ สุธีรวุฒิ ผู้อำานวยการสถาบันการจัดการ
ระบบสุขภาพภาคใต้ ม.อ. (สจรส.ม.อ.) กล่าวว่า การจัดงานครั้งนี้
เป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่จะนำาไปสู่การสร้างคน สร้างงาน
สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำากัด ยกระดับขับเคลื่อนประเด็น
สุขภาวะภาคใต้ ซึ่งมีการขับเคลื่อนในพื้นที่อยู่ 4 ประเด็นหลัก
สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจ�ากัด สู่สุขภาวะที่ยั่งยืน คือ ความมั่นคงทางมนุษย์ ความมั่นคงทางสุขภาพ ความมั่นคง
ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความมั่นคงทางอาหาร
ทั้งหมดเพื่อให้เกิดนวัตกรรมที่ยกระดับจากการทำางานของภาคี
อบอุ่น คึกคัก จริงใจ และเต็มเปี่ยมไปด้วยพลังตามแบบฉบับ “คนใต้” กับงานประชุมวิชาการ “สร้างสุขภาคใต้” ครั้งที่ 10 “สร้างคน
สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้ามขีดจำากัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน” เมื่อวันที่ 28 - 30 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ เครือข่ายสุขภาวะใน 8 ประเด็นย่อย ให้แต่ละประเด็นเกิดการขยาย
ครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยมี พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ รองนายกรัฐมนตรีและประธานคณะกรรมการกองทุน สสส. ให้เกียรติเป็น ครอบคลุมทั้งภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาสังคม
ประธานในพิธีเปิด และนายดลเดช พัฒนรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา ให้การต้อนรับ ร่วมด้วย ดร.สุปรีดา อดุลยานนท์ ผู้จัดการ สสส., มีการเชื่อมประสานองค์กรภาคียุทธศาสตร์ 4 องค์กร ได้แก่
รศ.ดร. ชูศักดิ์ ลิ่มสกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), กระทรวง
สาธารณสุข (สธ.), สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.),
และ สำานักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.)
ตลอดระยะเวลา 3 วัน ภายในงานมีเพื่อนภาคีเข้าร่วมมากกว่า 1,500 คน ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นักวิชาการ และ
ประชาชนทั่วไป ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดมความคิด ประสบการณ์กันอย่างเข้มข้น มีการนำาเสนอผลงานขับเคลื่อนเชิงพื้นที่ใน 4 ประเด็นกลุ่มหลัก
และนำาเสนอร่างข้อเสนอเชิงนโยบายในระดับพื้นที่ของ 8 ประเด็นย่อย ได้แก่ 1) ความมั่นคงทางสุขภาพและเขตสุขภาพ: กองทุนตำาบล เขตสุขภาพ
ระดับอำาเภอ เขตสุขภาพระดับตำาบล 2) เกษตรกรรมเพื่อสุขภาพ: สวนยาง พืชร่วมยาง ข้าวธนาคารต้นไม้ ตำาบบลบูรณาการและสิ่งแวดล้อม
การท่องเที่ยว 3) การจัดการภัยพิบัติ 4) สุขภาวะเด็ก เยาวชน และครอบครัว 5) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว 6) ความมั่นคง
นพ.วีระพันธ์ สุพรรณไชยมาตร์ รองประธานกรรมการกองทุน สสส. ได้กล่าวว่า การจัดงานสร้างสุขภาคใต้ครั้งนี้เป็นความร่วมมือของ ของมนุษย์ การจัดการปัจจัยเสี่ยง: เหล้า บุหรี่ สารเสพติด 7) ชุมชนน่าอยู่ และ 8) จริยธรรมสื่อเพื่อสุขภาวะทางสังคม โดยนำาข้อเสนอไปสู่การ
ภาคีเครือข่ายจากหลายภาคส่วน เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนงานของภาคีสุขภาวะ สร้างความเป็นเครือข่าย มุ่งเน้นกระบวนการสานงานเสริมพลัง ขับเคลื่อนในระดับนโยบายต่อผู้บริหารองค์กรด้านสุขภาพทั้ง 4 องค์กร และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ร่วมทั้งมีนิทรรศการ ลานเสวนา การจัดอบรม
ข้ามประเด็น ข้ามพื้นที่ โดยใช้กลไกในพื้นที่ รวมถึงข้อมูลและองค์ความรู้ ประกอบกับการพัฒนาระบบการสื่อสารเพื่อสนับสนุนการทำางานแบบ PA สร้างสุข Dancercise 2018 อีกด้วย
เชื่อมร้อยกันของภาคี ขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาวะอย่างเป็นระบบ มุ่งไปสู่การพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาวะที่ดีร่วมกันของชาวใต้
การสร้างกลไกการสื่อสารในพื้นที่ภาคใต้ทำาอย่างไร ?
เราต้องเชื่อมร้อยคนทำาสื่อ เชื่อมร้อยคนทำาประเด็น และเชื่อมร้อยนโยบายด้านสุขภาวะ เข้าด้วยกัน ใช้ประเด็นร่วมเป็นตัวตั้งแล้วตั้งกองบรรณาธิการสื่อ
“สื่อสร้างสุข” กลไกขับเคลื่อนสุขภาวะคนใต้ สร้างสุขเป็นเวทีกลางที่จะนำาประเด็นของภาคใต้มาขับเคลื่อน แบ่งเป็นภาคใต้ 4 โซน คือ โซนใต้ตอนล่าง (สามจังหวัดชายแดน) โซนใต้ตอนบน โซนใต้
ตอนกลาง และโซนใต้อันดามัน ภารกิจของกองบรรณาธิการจะนำาประเด็นในแต่ละโซนมาออกแบบและสื่อสารออกไป
“พอมีสื่อ อย่างน้อยชาวบ้านก็ได้บอกทุกข์ของเขา ได้ตะโกนออกไป แล้วหน้าที่ของเราคือ ผลิตซ้ำ� ยกระดับ ช่องทางสื่อสารที่ใช้มีอะไรบ้าง?
นี่แหละคือ สื่อขับเคลื่อนสังคม” ช่องทางแรกเป็นวิทยุชุมชน ชื่อรายการ “กินอิ่มนอนอุ่นบนแผ่นดินใต้” ซึ่งประเด็นนำาเสนอต่างๆ จะสลับสับเปลี่ยนกันไป นอกจากนี้เราทำา
คุณอานนท์ มีศรี นายกสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ นครศรีธรรมราช หัวเรือใหญ่ผู้ขับเคลื่อนงานสื่อสารด้าน คู่ขนานกับสื่อโซเชียลมีเดีย เช่น เพจเฟสบุ้ค ต่อมาเราก็คิดยุทธศาสตร์กัน เพื่อให้สื่อของเราเป็นเครือข่ายที่ขับเคลื่อนสังคมไปสู่การเปลี่ยนแปลง คือเรา
สุขภาวะของ “คนใต้” โดยเน้นให้ชุมชนมีบทบาทนำาเสนอประเด็นปัญหาสุขภาวะในพื้นที่ตนเอง ได้เกิด ไม่ได้ทำาหน้าที่แค่เป็นสื่ออย่างเดียว เรามีการติดตามประเด็นที่มานำาเสนอเพื่อกระตุ้นให้เกิดการทำางานอย่างต่อเนื่องด้วย กลไกสื่อเพื่อนำาสู่การเปลี่ยนแปลง
การรับรู้ต่อสังคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำาเนินการแก้ไข อย่างตรงจุด ตรงเป้า โดยใช้สื่อเป็น ตัวตนของสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้ฯ แตกต่างจากสื่อกระแสหลัก ?
ช่องทางขับเคลื่อนบอกเล่าให้เห็นข้อเท็จจริง หนึ่ง วิธีการทำาของเราไม่สื่อแค่เพื่อรับรู้ แต่เราต้องลงไปในพื้นที่จริง ไม่มีการเตี้ยม คุยกันแบบตรงไปตรงมา และติดตามไม่ใช่แค่ขายข่าว เรามีการคุยอย่าง
“บ้านภาคี” ได้มีโอกาสนั่งพูดคุยไขประตูความคิดกับคุณอานนท์ ถึงการทำางานสื่อสาร ในงาน ต่อเนื่องมีการแลกเปลี่ยนกับคนในชุมชนนั้น เน้นการทำางานแบบเชิงรุก สอง ข้อจำากัดของสื่อใหญ่ คือต้นทุนเขาสูง แต่เราไปทำางานด้วยตัวเอง
ประชุมวิชาการ “สร้างสุขภาคใต้” ครั้งที่ 10 “สร้างคน สร้างงาน สร้างสุข สานพลังที่ก้าวข้าม เราไม่ต้องจ้างใคร แต่ถึงอย่างนั้นการที่เราไปด้วยตัวเองมันก็ยังไม่กว้างพอที่จะบอกว่าเราจะเปลี่ยนแปลงสังคม จึงต้องเริ่มเปลี่ยนจากพื้นที่เล็กๆ ก่อน
ขีดจำากัดสู่สุขภาวะที่ยั่งยืน” เมื่อวันที่ 28-30 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลอง ง่ายที่สุดเริ่มจากชุมชน เช่น ชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช ทำาเรื่องขยะ โดยทำากับเด็กๆ พอเราลงไปและเขาไม่เคยสื่อสารเรื่องนี้ เราก็
สิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ช่วยจัดเวทีให้เขาทำาอย่างต่อเนื่อง เขาอยากได้คลิปโพสลงโซเชียลมีเดยเราก็ทำาให้
กลไกสื่อช่วยให้ภาคีภาคใต้ก้าวข้ามข้อกำาจัดอย่างไร? ถ้าอยากทำาเครือข่ายสื่อสร้างสุขแบบภาคใต้ จะเริ่มอย่างไร?
เมื่อก่อนนี้ พื้นที่ใครพื้นที่มันห้ามมายุ่งกัน เช่น เรื่องการจัดการภัยพิบัติ คนพื้นที่อื่นจะรู้มากกว่าคนใน ค้นหาคนก่อน ค้นหากลุ่ม แล้วมาคุยกัน ตั้งแนวคิด ถ้าเราจะสร้างเครือข่าย เราต้องเริ่มจากจุดไหน ผมว่าคนทำาสื่อในพื้นที่เริ่มที่วิทยุชุมชนก่อนจะดี เริ่มจาก
พื้นที่ไม่ได้ แต่สามารถมาเรียนรู้ได้ ฉะนั้นการสร้างกลไกสื่อจึงสำาคัญมากในแง่ของการหย่าศึกสำาหรับทุกคน ใจล้วนๆ เลย ใจที่รับผิดชอบต่อสังคม ค่อนข้างนามธรรมแต่เราสามารถวัดได้ ยกตัวอย่าง เราเห็นสังคมถูกเอารัดเอาเปรียบแล้วเราทนไม่ได้ เช่น เรื่องเสือดำา
ผมใช้กลไกสื่อเป็นตัวเชื่อมประเด็นสุขภาวะต่างๆ ในภาคใต้ โดยเริ่มจากการหาคนพูดแล้วทำาจริง และต้อง ผมใช้วิธีการโพส ผมบอกว่าการฆ่าเสือดำาไม่ได้ผิดกฎหมายอย่างเดียว เพราะเสือดำาตายทุกวัน กระทิงตายทุกวัน ค่างตายทุกวัน แต่มันบอกถึงความเลื่อมล้ำ�ใน
ก้าวข้ามข้อกำาจัดเรื่องงบประมาณเรื่องเงินไปให้ได้ สังคม โพสนี้มีคนเข้ามาแสดงความเห็นค่อนข้างเยอะ ผมใช้วิธีการนี้ค้นหาและสร้างคนที่มีใจแบบเรา