Page 6 - หน่วยที่ 4 พลังงานความร้อน
P. 6
ผลของความร้อนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสาร
สูตรค านวณหาปริมาณความร้อน ที่ท าให้สารเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
ตัวอย่าง
Q = mc∆t จงหาปริมาณความร้อนที่ท าให้น้ ามวล 100 กรัม ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิ
สูงขึ้นเป็น 35 องศาเซลเซียส (ความจุความร้อนจ าเพาะของน้ ามีค่าเท่ากับ 4,186 J/kg • K)
วิธีท า น้ ามวล 100 g = 0.1 kg
Q คือ ปริมำณควำมร้อนที่ท ำให้สำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีหน่วยเป็น จูล (J) จากสูตร Q = mc∆t
m คือ มวลของสำร มีหน่วยเป็น กิโลกรัม (kg) แทนค่า Q = 0.1 x 4,186 x (35 - 25)
c คือ ควำมจุควำมร้อนจ ำเพำะของสำร มีหน่วยเป็น จูล/กิโลกรัม • เคลวิน Q = 4,186 J
(J/kg • K) ดังนั้น จะต้องใช้ควำมร้อน 4,186 จูล เพื่อท ำให้น ำมวล 100 กรัม มีอุณหภูมิเพิ่มขึ นจำก 25
∆t คือ อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไป มีหน่วยเป็น เคลวิน (K) องศำเซลเซียสไปเป็น 35 องศำเซลเซียส
หมายเหตุ สำมำรถน ำผลต่ำงอุณหภูมิหน่วยองศำเซลเซียสมำค ำนวณได้เลย เนื่องจำกหนึ่งหน่วยขององศำเซลเซียสและ
เคลวินมีขนำดสเกลเท่ำกัน เช่น อุณหภูมิ 25 °c คือ 25 + 273 = 298 K อุณหภูมิ 35 °c คือ 35 + 273
= 308 K ผลต่ำง คือ 308 – 298 = 10 K ซึ่งมีค่ำเท่ำกับ 35 – 25 = 10 °c ดังนั น จึงไม่จะเป็นต้องเปลี่ยนหน่วย