Page 9 - Nootsara maliram
P. 9

กลุมพยัญชนะ

                แตละพยางคในคําหนึ่ง ๆ ของภาษาไทยแยกออกจากกันอยางชัดเจน (ไม

        เหมือนภาษาอังกฤษที่พยัญชนะสะกดอาจกลายเปนพยัญชนะตนในพยางคถัดไป

        หรือในทางกลับกัน) ดังนั้นพยัญชนะหลายตัวของพยางคที่อยูติดกันจะไมรวมกัน

        เปนกลุมพยัญชนะเลย

                ภาษาไทยมีกลุมพยัญชนะเพียงไมกี่กลุม ประมวลคําศัพทภาษาไทยดั้งเดิมระบุ

        วามีกลุมพยัญชนะ (ที่ออกเสียงรวมกันโดยไมมีสระอะ) เพียง 11 แบบเทานั้น

        เรียกวา พยัญชนะควบกล้ํา หรือ อักษรควบกล้ํา




                       •/kr/ (กร), /kl/ (กล), /kw/ (กว)

                       •/kʰr/ (ขร,คร), /kʰl/ (ขล,คล), /kʰw/ (ขว,คว)

                       •/pr/ (ปร), /pl/ (ปล)

                       •/pʰr/ (พร), /pʰl/ (ผล,พล)

                       •/tr/ (ตร)




                พยัญชนะควบกล้ํามีจํานวนเพิ่มขึ้นอีกเล็กนอยจากคํายืมภาษาตางประเทศ

        อาทิ อินทรา จากภาษาสันสกฤต พบวาใช /tʰr/ (ทร), ฟรี จากภาษาอังกฤษ

        พบวาใช /fr/ (ฟร) เปนตน เราสามารถสังเกตไดวา กลุมพยัญชนะเหลานี้ถูกใชเปน

        พยัญชนะตนเทานั้น ซึ่งมีเสียงพยัญชนะตัวที่สองเปน ร ล หรือ ว และกลุม

        พยัญชนะจะมีเสียงไมเกินสองเสียงในคราวเดียว การผันวรรณยุกตของคําขึ้นอยูกับ

        ไตรยางศของพยัญชนะตัวแรก
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14