Page 13 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6
P. 13

24        หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6                                                                                    หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6    25



                  การรีไซเคิลเศษแก้วนอกจากจะเป็นการใช้ทรัพยากรอย่าง                                                                       เทคโนโลยีทŒองถิ่นและเทคโนโลยีนำ เขŒา
            ประหยัดและคุ้มค่าแล้วยังส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อม  เนื่องจาก                                                                     ปัจจุบันมนุษย์ได้น�าเทคโนโลยีมาใช้ในการด�ารงชีวิตมากขึ้น  โดยเทคโนโลยีบางอย่าง

            ในกระบวนการผลิตส่วนใหญ่ไม่ใช้น้ำ เลย  จะใช้เพียงน้ำ หล่อเย็น                                                           เป็นเทคโนโลยีที่สามารถคิดค้นหรือประดิษฐ์ขึ้นใช้เองภายในประเทศ  แต่เทคโนโลยีบางอย่าง
            ซึ่งเป็นระบบการใช้น้ำ หมุนเวียนจึงไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม                                                          จ�าเป็นต้องน�าเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งเทคโนโลยีแต่ละชนิดมีความเหมาะสมในการน�ามาใช้ประโยชน์

            ส่วนมลพิษจากเตาหลอมนั้นก็มีบ้างเนื่องจากแต่ละโรงงานใช้น้ำ มันเตา                                                       แตกต่างกัน
            เป็นเชื้อเพลิง  การเผาน้ำ มันเตาจะทำ ให้ซัลเฟอร์ลอยไปสู่อากาศแต่

            ก็ได้มีการควบคุมการปล่อยแก๊สนี้ตามมาตรฐานของกรมแรงงาน                                                                       เทคโนโลยีท้องถิ่น
            อยู่แล้ว
                                                                                                                                         เทคโนโลยีท้องถิ่นหรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมายถึง กระบวนการสร้าง

                                                                          การนำ�เทคโนโลยีมาใช้แยกขยะ                               เครื่องมือ สิ่งประดิษฐ์ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ที่คนในท้องถิ่นพัฒนาขึ้นโดยอาศัยความรู้จากหลักการ
                                                                                เพื่อการรีไซเคิล                                   ทางธรรมชาติและประสบการณ์ที่สั่งสมกันมา  ซึ่งเน้นกระบวนการผลิตที่ไม่ทำ ลายสิ่งแวดล้อม
               •• แหล่งสืบค้นข้อมูล  ••                                                                                            ใช้วัสดุที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น  และประหยัดพลังงาน  เทคโนโลยีท้องถิ่นจึงมีลักษณะแตกต่างกัน
                                                                                                                                   ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและการดำ รงชีวิตของคนในท้องถิ่นนั้น ๆ

                  1. นักวิชาการสาขาต่าง ๆ เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักการศึกษา นักวิชาการเกษตร แพทย์                                          เทคโนโลยีท้องถิ่นเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์  และความรู้
                    นักวิชาการด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม                                                                            ในแขนงต่าง ๆ  ของบรรพบุรุษ นำ มาใช้แก้ปัญหาเพื่อช่วยให้การดำ รงชีวิตดำ เนินไปในแบบแผน
                  2. เอกสารหรือหนังสือเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต                            ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับวิถีชีวิต  ดังนั้นเทคโนโลยีท้องถิ่นจึงมีส่วนสำ คัญต่อการพัฒนาชีวิต
                    วิทยาศาสตร์กับสังคม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และชีวิต วิทยาศาสตร์การอาหาร เป็นต้น
                  3. หน่วยงานหรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน เช่น ศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                                 ความเป็นอยู่ของคนไทยทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเทคโนโลยีท้องถิ่นแบ่งได้ดังนี้
                    สำ นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ สำ นักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ                                       1. เทคโนโลยีท้องถิ่นด้านอาหารไทย  อาหารไทย
                    กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน มหาวิทยาลัยที่เปดสอน                                    ประกอบด้วยกับข้าวและข้าว ซึ่งกับข้าวจัดเป็นส่วนประกอบ
                    สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี                                                                                    หลักของอาหารไทย โดยมีกรรมวิธีการปรุงที่เป็นภูมิปัญญา
                  4. เว็บไซต์ที่ใช้ค้นคว้าข้อมูล เช่น http://www.stkc.go.th/, http://www.tint.or.th/, http://www.                  ที่แตกต่างกันตามภาคต่าง ๆ ดังนี้

                    dede.go.th/
                                                                                                                                            1)�เป็นภูมิปญญาแห่งผลสำ�เร็จในการทำ�ความ
                                                                                                                                   เข้าใจวัฏจักรธรรมชาติ  จึงสามารถสร้างสรรค์อาหารไทย

                    กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้                                                                                        ให้มีลักษณะดังนี้
                                                                                                                                             (1) เป็นอาหารที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะ

                 1. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน จับสลากเลือกอภิปรายเกี่ยวกับความสัมพันธ์                                      ภูมิประเทศและทรัพยากรรอบตัว ซึ่งหากดำ เนินชีวิตตาม     อาหารไทยในแต่ละภาคใช้ภูมิปญญา
               ของเทคโนโลยีกับศาสตร์ต่าง ๆ ตามหัวข้อที่กำ หนดให้ แล้วบันทึกผลการอภิปราย                                            วัฒนธรรมการกินอยู่แบบไทยแล้วก็จะไม่ขาดแคลนอาหาร เช่น            ที่แตกต่างกัน

                     1) วิทยาศาสตร์            3) ศึกษาศาสตร์      5) แพทยศาสตร์                                                                – ภาคเหนือและภาคอีสาน มีพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ป่าดงดิบ ที่ราบสูง หรือ
                     2) เกษตรศาสตร์            4) โภชนศาสตร์       6) พลังงานและสิ่งแวดล้อม                                        ที่ดอน  มีแม่น�้าล�าธารไหลผ่านหลายสาย  อาหารส่วนใหญ่ประกอบด้วยข้าวเหนียวซึ่งเจริญ
                 2. นักเรียนเลือกวิเคราะห์ข่าวหรือบทความเกี่ยวกับการนำ เทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์                                      เติบโตได้ดีในที่ดอน  พืชผักจากป่า  เช่น  หน่อไม้  เห็ดนานาชนิด  ผักกระโดน  ผักติ้ว  เนื้อปลา

               ในด้านต่าง ๆ นำ เสนอผลการวิเคราะห์ แล้วให้เพื่อน ๆ วิจารณ์และสรุปผลร่วมกัน                                          จากแหล่งน�้าจืด เนื้อวัวจากทุ่งหญ้าที่ราบสูง
                     3. นักเรียนสัมภาษณ์ผู้รู้เกี่ยวกับวิธีการเลือกใช้เทคโนโลยี แล้วบันทึกผลการสัมภาษณ์                                          – ภาคกลาง มีพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ  บางส่วนติดทะเล จึงนิยมบริโภคข้าวเจ้า

                     4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6–7 คน ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับเทคโนโลยีในอนาคต                                   ที่เติบโตได้ดีในที่ลุ่ม มีพืชผักจากท้องทุ่ง เช่น โสน ผักบุ้ง ผักกระเฉด สายบัว สัตว์น้ำ ทั้งจาก
               ว่าควรจะมีลักษณะพิเศษด้านใดบ้าง บันทึก แล้วส่งตัวแทนนำ เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน                                       แหล่งน้ำ จืดและน้ำ เค็ม
   8   9   10   11   12   13