Page 11 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6
P. 11
20 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 21
เทคโนโลยีประกอบด้วยแผงเซลล์แสงอาทิตย์ แบตเตอรี่ อุปกรณ์ควบคุม การประจุแบตเตอรี่
และอุปกรณ์เปลี่ยนระบบไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับแบบอิสระ โดยมีหลักการทำ งาน
แบ่งเป็น 2 ช่วง คือ เวลากลางวันเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงแดดสามารถผลิตไฟฟ้าจ่ายให้แก่
โหลดพร้อมทั้งประจุพลังงานไฟฟ้าส่วนเกินไว้ในแบตเตอรี่พร้อม ๆ กัน เพื่อเก็บกักพลังงานไฟฟ้า
ไว้ใช้ในเวลากลางคืน
นำ ไปใช้ในกิจการต่าง ๆ ท่อน้ำ ออก
แบตเตอรี่
แหล่งความร้อน
เหลือทิ้ง
ถังเก็บน้ำ ร้อน
เครื่องควบคุม
การชาร์จประจุ
เครื่องแลกเปลี่ยน
ความร้อน ท่อน้ำ เย็นเข้า
เครื่องเปลี่ยน แผนภูมิแสดงระบบผลิตน้ำ�ร้อนด้วยแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้า
นอกจากนี้ยังมีระบบผลิตน�้าร้อนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์จากแผงรับแสงอาทิตย์
แผนภูมิแสดงระบบผลิตกระแสไฟฟาด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ อย่างเดียว ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานในระดับครัวเรือน โดยระบบประกอบด้วยสองส่วนหลัก ๆ
คือ ถังเก็บน�้าร้อนและแผงรับความร้อนจากแสงอาทิตย์
นอกจากนี้ยังมีการนำ เซลล์แสงอาทิตย์แบบผสมผสานซึ่งเป็นระบบผลิตกระแสไฟฟ้า 2. เทคโนโลยีจากพลังงานลม พลังงานลมเป็นพลังงานธรรมชาติที่สะอาด บริสุทธิ์ และ
ที่ถูกออกแบบสำ หรับทำ งานร่วมกับอุปกรณ์ผลิตไฟฟ้าอื่น ๆ เช่น ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลม ไม่มีวันหมดสิ้นเหมือนกับพลังงานแสงอาทิตย์ จึงมีการศึกษาและพัฒนาให้เกิดประโยชน์อย่าง
และเครื่องยนต์ดีเซล ระบบเซลล์แสงอาทิตย์กับพลังงานลมและไฟฟ้าพลังงานน้ำ เป็นต้น โดยรูปแบบ กว้างขวาง โดยอาศัยเทคโนโลยีกังหันลมมาใช้เป็นตัวกั้นพลังงานจลน์ของกระแสลม แล้วเปลี่ยน
ของระบบจะขึ้นอยู่กับการออกแบบตามวัตถุประสงค์โครงการเป็นกรณีเฉพาะ เป็นพลังงานกล จากนั้นจึงนำ พลังงานกลที่ได้ไปใช้ประโยชน์ เช่น สูบน้ำ หรือผลิตกระแสไฟฟ้า
2)�เทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ผลิตความร้อน� ประเทศไทยมีการใช้ประโยชน์จาก กังหันลม คือ เครื่องจักรกลอย่างหนึ่งที่สามารถรับพลังงานจลน์จากการเคลื่อนที่ของลม
พลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบการใช้งานต่าง ๆ เช่น เครื่องผลิตน้ำ ร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ ให้เป็นพลังงานกลได้ การออกแบบกังหันลมในปัจจุบันจะต้องอาศัยความรู้ทางด้านพลศาสตร์
เครื่องอบแห้งจากพลังงานแสงอาทิตย์ เป็นต้น ของลมและหลักวิศวกรรมศาสตร์ในแขนงต่าง ๆ เพื่อให้ได้กำ ลังงาน พลังงาน และประสิทธิภาพ
เครื่องผลิตน้ำ ร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์แบบผสมผสาน เป็นการนำ เทคโนโลยี สูงสุด กังหันลมสามารถแบ่งออกตามลักษณะการจัดวางแกน
การผลิตน้ำ ร้อนจากแสงอาทิตย์มาผสมผสานกับความร้อนเหลือทิ้ง เช่น การระบายความร้อน ของใบพัดเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่
ของเครื่องทำ ความเย็นของเครื่องปรับอากาศ จากหม้อต้มไอน้ำ หรือปล่องไอเสีย โดยผ่านอุปกรณ์ 1)�กังหันลมแนวแกนนอน�เป็นกังหันลมที่มีแกนหมุนขนาน
แลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อลดขนาดพื้นที่แผงรับรังสีความร้อน และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า กับทิศทางของลมโดยมีใบพัดเป็นตัวตั้งฉากรับแรงลม มีอุปกรณ์ควบคุม
กังหันให้หันไปตามทิศทางของกระแสลม เรียกว่า หางเสือ และมีอุปกรณ์
ป้องกันกังหันชำ รุดเสียหายขณะเกิดลมพัดแรง ซึ่งเป็นกังหันลมที่นิยม
ใช้กันอย่างแพร่หลาย กังหันลมแนวแกนนอน