Page 6 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6
P. 6
10 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6 11
4)�การโคลนนิงกระทิง�โดย ดร.รังสรรค์ พาลพ่าย หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีตัวอ่อน 2. ห้องเรียนจ�าลอง (Virtual Classroom) คือ การเรียนการสอนที่กระท�าผ่านระบบเครือข่าย
และเซลล์ต้นกำ เนิด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้โคลนนิงสัตว์ป่าหายากใกล้สูญพันธุ์ของไทย คอมพิวเตอร์โดยใช้ช่องทางของระบบการสื่อสารและอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์
โดยเฉพาะกระทิงเนื่องจากถิ่นที่อยู่อาศัยถูกทำ ลาย และมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสม แต่เนื่องจาก ของนักเรียน อาจเป็นการเชื่อมโยงระยะใกล้ •• สาระน่ารู้ ••
การจับกระทิงพ่อแม่พันธุ์จากป่าไม่สามารถทำ ได้ จึงเปลี่ยนมาใช้การโคลนนิงข้ามสปีชีส์ โดย หรือระยะไกล ซึ่งครูจะออกแบบกระบวนการ
เลือกวัวซึ่งเป็นสัตว์ที่มีรูปร่างลักษณะใกล้เคียงกับกระทิง ใช้เซลล์ไข่ของวัวเป็นไซโทพลาซึมตัวรับ เรียนการสอนให้มีสภาพแวดล้อมคล้ายกับการ เครื่องมือที่จ�าเป็นส�าหรับห้องเรียน
และใช้เซลล์ผิวหนังของกระทิงเพศเมีย และเพศผู้ชื่อ “ทอง” จากสวนสัตว์เปดเขาเขียว จังหวัดชลบุรี เรียนในห้องเรียน มีการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง จ�าลอง คือ ต้องมีเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
มาเป็นต้นแบบในการสร้างตัวอ่อนของกระทิง จากนั้นย้ายฝากตัวอ่อนมาใส่ในมดลูกของแม่วัว นักเรียนกับครูหรือนักเรียนกับเพื่อน การมีส่วนร่วม และโมเด็มที่บ้านหรือที่ท�างานพร้อมที่จะ
จนกระทั่งตกลูกออกมาเป็นผลสำ เร็จ จะเป็นแบบภาวะต่างเวลาซึ่งท�าให้นักเรียน ต่อเชื่อมเข้ากับโปรแกรมห้องเรียนจ�าลอง
ในระบบห้องเรียนจ�าลองสามารถเชื่อมต่อเข้าไป
ศึกษาได้ทุกเวลา และสามารถติดต่อสื่อสารตลอดจนจัดท�ากิจกรรมต่าง ๆ ได้เหมือนกับที่ปฏิบัติ
กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ในชั้นเรียนปกติ รวมทั้งช่วยสร้างสภาพแวดล้อมได้มากที่สุดเท่าที่จะท�าได้ การเรียนการสอน
แบบห้องเรียนจ�าลองจึงมีลักษณะเด่นดังนี้
ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านวิทยาศาสตร์และด้านเกษตรศาสตร์
เพิ่มเติม บันทึกความรู้ แล้วนำ เสนอผลงานหน้าชั้นเรียน 1) นักเรียนสามารถเลือกเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งจากครูคนใดคนหนึ่งทั่วโลกหากมีการ
เปดโอกาสให้ลงทะเบียนเรียนได้โดยไม่มีขีดจำ กัดในเรื่องพื้นที่
2) นักเรียนสามารถมีส่วนร่วมกับครูหรือเพื่อนที่เรียนร่วมกันได้ตลอดเวลาไม่ว่าจะ
เป็นกลางวันหรือกลางคืน
เทคโนโลยีกับศึกษาศาสตร์
3) เหมาะกับนักเรียนที่ไม่สะดวกในการเดินทาง ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพราะ
ศึกษาศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาเล่าเรียนและอบรม โดยมีครูเป็นผู้จัดกระบวนการ นักเรียนสามารถทำ งานและศึกษาอยู่ที่บ้านได้
เรียนการสอน มีนักเรียนเป็นผู้เรียน และใช้อุปกรณ์หรือเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นสื่อประกอบ 4) นักเรียนสามารถท�างานร่วมกันหรือมีโอกาสในการมีส่วนร่วมโดยระบบสื่อสาร
การอธิบาย การสร้างความเข้าใจ เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และความคิดรวบยอดในเรื่องต่าง ๆ และคอมพิวเตอร์ จึงสามารถอภิปรายปัญหาต่าง ๆ หรือแลกเปลี่ยนความรู้กันได้
เทคโนโลยีที่มีความสัมพันธ์กับการศึกษามากที่สุด คือ เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งเป็นการ จะเห็นได้ว่า ห้องเรียนจำ ลองสามารถลดปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่จำ กัด
นำ ความรู้ แนวคิด กระบวนการ และผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาใช้ร่วมกันอย่างมีระบบ เพื่อ เฉพาะในห้องเรียน การเรียนรู้ที่จำ กัดเฉพาะครู นักเรียน และตำ รา ลดข้อจำ กัดในเรื่องเวลา
แก้ปัญหาหรือพัฒนาด้านการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างเทคโนโลยี ลดปัญหาสถานที่เรียนไม่เพียงพอกับปริมาณของนักเรียน และลดปัญหาสัดส่วนของครูที่
ทางการศึกษาที่นำ มาใช้กันอย่างกว้างขวาง ได้แก่ ไม่เหมาะสมกับปริมาณของนักเรียน
1. E-Learning (Electronic Learning) หมายถึง การเรียนการสอนที่ถ่ายทอดเนื้อหา 3. การศึกษาทางไกล (Distance Education) เป็นระบบการศึกษาที่นักเรียนและครูอยู่
สาระการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น ซีดีรอม เครือข่ายอินเทอร์เน็ต สัญญาณดาวเทียม ไกลกัน แต่สามารถทำ ให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยอาศัยสื่อการสอนในลักษณะของสื่อประสม เช่น
ซึ่งการเรียนการสอนในลักษณะนี้ก�าลังได้รับความนิยมมากขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ตำ ราเรียน แถบบันทึกเสียง แผนภูมิ คอมพิวเตอร์ การ
การเรียนออนไลน์ การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม การเรียนในรูปแบบของ E-Learning ท�าให้เกิด ใช้อุปกรณ์ทางโทรคมนาคมประเภทวิทยุและโทรทัศน์
เทคโนโลยีทางการศึกษาต่าง ๆ ตามมา เช่น เข้ามาช่วยในการแพร่กระจายการศึกษาไปยังนักเรียนอย่าง
1)�E-Book� คือ การสร้างหนังสือหรือเอกสารในรูปแบบสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ กว้างขวางทุกท้องถิ่น นอกจากจะเรียนจากสื่อประสม
เพื่อใช้ประโยชน์กับระบบการเรียนการสอนบนเครือข่าย แล้วอาจมีการสอนเสริมควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้นักเรียน
2)�E-Library�คือ การสร้างห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซักถามปัญหาจากครู โดยการศึกษาลักษณะนี้อาจจะอยู่ ลักษณะการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ซึ่งจะกลายเป็นแหล่งความรู้และค้นหาข้อมูลที่ใหญ่และทันสมัย ในรูปแบบของการศึกษาอิสระ การศึกษารายบุคคล หรือ ของโรงเรียนวังไกลกังวล