Page 4 - เนื้อหาหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสัมพันธ์ ม.6
P. 4

6       หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6                                                                                       หนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน การออกแบบและเทคโนโลยี ม. 4–6    7


                เทคโนโลยีกับเกษตรศาสตร์                                                                                            บึงกาฬ) ที่ปรับปรุงให้ทนน�้าท่วมฟนตัวหลังน�้าท่วมได้ดีกว่าสายพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 พันธุ์เดิม

                  เกษตรศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วยการใช้ที่ดินในการปลูกพืช  เลี้ยงสัตว์  รวมทั้งการประมง                              โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย  303  กิโลกรัมต่อไร่  ในขณะที่สายพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ  105  พันธุ์เดิม

            และการทำ ป่าไม้  โดยดำ เนินการควบคุมธรรมชาติเพื่อให้เกิดผลผลิตและอาศัยการเจริญเติบโต                                   ให้ผลผลิตเพียง  56  กิโลกรัมต่อไร่  เมื่อทดลองปลูกในพื้นที่ปกติ  ทั้งสองสายพันธุ์ให้ผลผลิต
            ของพืชและสัตว์เป็นพื้นฐาน มีการจัดการอย่างเป็นระบบ ผลิตพืชและสัตว์ตามขั้นตอนกระบวนการ-                                 ใกล้เคียงกันและมีคุณภาพไม่แตกต่างกัน
            ทำ งาน มีการคิดคำ นวณต้นทุน และสรรหาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาใช้เพื่อให้ได้ผลผลิตตามที่ต้องการ                                        สรุปได้ว่า พันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทนน้ำ ท่วมฉับพลัน เหมาะสำ หรับปลูกในพื้นที่

                  ในอดีตมนุษย์ท�าการเกษตรเพื่อน�าผลผลิตมาบริโภคภายในครอบครัว เมื่อจ�านวนประชากร                                    นาน้ำ ฝนในเขตภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิด
            มากขึ้นท�าให้ความต้องการผลผลิตทางการเกษตรเพิ่มสูงขึ้น  แต่พื้นที่ในการท�าการเกษตร                                      น้ำ ท่วมฉับพลัน
            มีเท่าเดิมหรือลดน้อยลง จึงมีการน�าเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และเปลี่ยน                                    2. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับการผลิตท่อนพันธุ์ขิงและปทุมมาปลอดโรค  ประเทศไทย

            จากการท�าการเกษตรเพื่อบริโภคภายในครอบครัวมาเป็นการผลิตเพื่อการค้าหรือธุรกิจ                                            เป็นแหล่งผลิตขิงคุณภาพดี โดยสามารถผลิตได้เป็นอันดับ 1 ใน 3 ของตลาดโลก ส่วนปทุมมา
                  เทคโนโลยีทางการเกษตรเข้ามามีบทบาทส�าคัญต่อการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร                                              หรือทิวลิปสยาม หรือกระเจียว เป็นไม้ดอกที่มีศักยภาพในการส่งออกสูงเป็นอันดับ 2 รองจาก
            เป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะเทคโนโลยีทางการเกษตรเป็นสิ่งที่ท�าให้การผลิตสะดวก  รวดเร็วขึ้นกว่า                            กล้วยไม้ แต่พืชทั้ง 2 ชนิดมีปัญหาเรื่องโรค  •• สาระน่ารู้  ••

            เดิม ซึ่งแตกต่างจากการผลิตตามวิธีการดั้งเดิม                                                                           ที่ติดมากับท่อนพันธุ์ทำ ให้เกษตรกรต้องย้าย
            ที่ต้องอาศัยแต่ธรรมชาติและแรงงานจากสัตว์ •• สาระน่ารู้  ••                                                             แหล่งปลูกไปเรื่อย ๆ  ศูนย์พันธุวิศวกรรม         การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หมายถึง การนำ ส่วน

            หรือมนุษย์เท่านั้น  การน�าเทคโนโลยีทางการ                                                                              และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ  (ไบโอเทค)         ต่าง  ๆ  ของพืชมาเลี้ยงบนอาหารสังเคราะห์

            เกษตรมาใช้ในการผลิตที่ถูกต้องและเหมาะสม            เทคโนโลยีทางการเกษตร  หมายถึง                                       โดย ดร.เฉลิมพล เกิดมณี ดร.ธราธร ทีรฆฐิติ      ในสภาพปราศจากเชื้อ  (Aseptic  Condition)
                                                             วิทยาการที่เกี่ยวข้องกับการนำ สิ่งประดิษฐ์
            กับงาน  นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ             หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้                             และคณะ  จึงได้พัฒนาเทคโนโลยีการผลิต           ภายใต้การควบคุมอุณหภูมิ แสง และความชื้น
            ในการท�างานแล้วยังเพิ่มผลผลิต ลดการสูญเสีย       เกิดประโยชน์ในด้านการเกษตร                                            ท่อนพันธุ์ขิงและปทุมมาขนาดเล็กปลอดโรค         ที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช จนกระทั่ง

            ผลผลิตในช่วงการเก็บเกี่ยว  และเพิ่มรายได้                                                                              โดยใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อ      ส่วนของพืชที่นำ มาเลี้ยงเจริญเติบโตพัฒนาเป็น
            ให้กับเกษตรกรอีกด้วย                                                                                                   แก้ปัญหานี้  เพราะเป็นเทคโนโลยีที่ใช้กัน      ต้นพืชที่สมบูรณ์ และสามารถนำ ไปปลูกในสภาพ-
                                                                                                                                                                                 แวดล้อมตามธรรมชาติได้  ซึ่งพืชต้นใหม่จะมี
                  ปัจจุบันได้มีการนำ เทคโนโลยีใหม่ ๆ  มาใช้ในการผลิตพืชและสัตว์มากขึ้น  เทคโนโลยี                                  แพร่หลายในการขยายพันธุ์พืชเศรษฐกิจ            ลักษณะเหมือนต้นพันธุ์ทุกประการ
            ทางการเกษตรที่สำ คัญ  เช่น  การขยายพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์  การใช้สารเคมี                             เนื่องจากขยายพันธุ์ได้รวดเร็วและปลอดโรค
            ปราบศัตรูพืชในปริมาณที่เหมาะสม การผลิตเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการเกษตร เป็นต้น สำ หรับ                                 โดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในขวดแก้วทำ ให้ขนส่งได้ง่าย สะดวกต่อการเก็บรักษาไว้เพื่อปลูกนอกฤดู
            การผลิตพืชเพื่อให้ได้ปริมาณและมีคุณภาพตรงกับความต้องการของตลาดนั้น จำ เป็นต้องปรับปรุง                                 และลดขั้นตอนการย้ายต้นพันธุ์  ซึ่งเทคโนโลยีนี้จำ เป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้และเครื่องมือ

            หรือเลือกใช้เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องให้ถูกต้องและเหมาะสม ตัวอย่างเช่น                                                    ที่ทันสมัย  จึงคงดำ เนินการได้เฉพาะในหน่วยงานราชการหรือบริษัทเอกชนที่มีความพร้อมทั้ง
                  1. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ทนน�้าท่วมแบบฉับพลัน ศูนย์พันธุวิศวกรรม                                   ด้านบุคลากรและเครื่องมือเท่านั้น

            และเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ  (ไบโอเทค)  ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  กรมการข้าว                                          3. การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์  หรือ
            กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล                                                                   เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า  การปลูกพืชโดยไม่ใช้ดิน
            ล้านนา  ได้ท�าการวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวขาวดอกมะลิ  105                                                                เป็นเทคโนโลยีที่ใช้สำ หรับการปลูกพืชเพื่อแก้ปัญหา
            ของไทยให้ทนต่อสภาพน�้าท่วมแบบฉับพลันได้ในทุกระยะ                                                                       พื้นที่ที่ไม่เหมาะสมกับการเพาะปลูก  แก้ปัญหา

            ของการเจริญเติบโต  ผลงานวิจัยนี้ท�าให้ได้สายพันธุ์ข้าวขาว                                                              ศัตรูพืช  และลดการใช้สารเคมีกำ จัดศัตรูพืชที่ก่อ
            ดอกมะลิ 105 ที่ทนอยู่ใต้น�้าได้ประมาณ 15–21 วัน โดยต้นข้าว                                                             ให้เกิดสารพิษตกค้างในผลผลิตและสิ่งแวดล้อม

            ไม่ตาย เมื่อทดลองปลูกในพื้นที่เกษตรที่มีความเสี่ยงต่อน�้าท่วม                                                          วิธีการปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินมีทั้งการปลูกพืชในวัสดุ
            ฉับพลัน  ในปีการเพาะปลูกระหว่าง พ.ศ. 2547–2548 ที่อ�าเภอ  การนำ�เทคโนโลยีมาใช้ในการปรับปรุง
            ปากคาด จังหวัดหนองคาย (ปัจจุบันอ�าเภอปากคาด อยู่ที่จังหวัด  พันธุ์ข้าวให้ทนต่อสภาพน้ำ�ท่วม                             ปลูกและการปลูกพืชในสารละลาย  ซึ่งการปลูกพืช
                                                                              แบบฉับพลัน                                           ด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์มีข้อดีดังนี้                     การปลูกพืชด้วยวิธีไฮโดรพอนิกส์
   1   2   3   4   5   6   7   8   9