Page 159 - คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค.21001
P. 159

153


                                  1)  ขอมูลปฐมภูมิ  (Primary Data)  คือ  ขอมูลที่ผูวิจัยเก็บขึ้นมาใหมเพื่อ

                   ตอบสนองวัตถุประสงคการวิจัยในเรื่องนั้นๆ  โดยเฉพาะการเลือกใชขอมูลแบบปฐมภูมิ  ผูวิจัยจะ
                   สามารถเลือกเก็บขอมูลไดตรงตามความตองการและสอดคลองกับวัตถุประสงค  ตลอดจนเทคนิค

                   การวิเคราะห  แตมีขอเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา  คาใชจาย  และอาจมีคุณภาพไมดีพอ  หากเกิดความ

                   ผิดพลาดในการเก็บขอมูลภาคสนาม
                                  2)  ขอมูลทุติยภูมิ  (Secondary Data)  คือ  ขอมูลตางๆ  ที่มีผูเก็บหรือรวบรวมไว

                   กอนแลว  เพียงแตนักวิจัยนําขอมูลเหลานั้นมาศึกษาใหม  เชน  ขอมูลสํามะโนประชากร  สถิติจาก

                   หนวยงาน และเอกสารทุกประเภท ชวยใหผูวิจัยประหยัดคาใชจาย ไมตองเสียเวลากับการเก็บขอมูล

                   ใหม  และสามารถศึกษายอนหลังได  ทําใหทราบถึงการเปลี่ยนแปลงและแนวโนมการเปลี่ยนแปลง

                   ของปรากฏการณที่ศึกษา  แตจะมีขอจํากัดในเรื่องความครบถวนสมบูรณ  เนื่องจากบางครั้งขอมูลที่
                   มีอยูแลวไมตรงตามวัตถุประสงคของเรื่องที่ผูวิจัยศึกษา  และปญหาเรื่องความนาเชื่อถือของขอมูล

                   กอนจะนําไปใชจึงตองมีการปรับปรุงแกไขขอมูล และเก็บขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงอื่นในบางสวนที่

                   ไมสมบูรณ


                          1.4 วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล อาจแบงเปนวิธีการใหญๆ ได 3 วิธี คือ

                                 1)  การสังเกตการณ  (Observation)  ทั้งการสังเกตการณแบบมีสวนรวม  และการ
                   สังเกตการณแบบไมมีสวนรวม  หรืออาจจะแบงเปนการสังเกตการณแบบมีโครงสราง  และการ

                   สังเกตการณแบบไมมีโครงสราง

                                 2)  การสัมภาษณ  (Interview)  นิยมมากในทางสังคมศาสตร  โดยเฉพาะการ

                   สัมภาษณโดยใชแบบสอบถาม  การสัมภาษณแบบเจาะลึก หรืออาจจะจําแนกเปนการสัมภาษณเปน
                   รายบุคคล และการสัมภาษณเปนกลุม เชน เทคนิคการสนทนากลุม ซึ่งนิยมใชกันมาก

                                 3) การรวบรวมขอมูลจากเอกสาร เชน หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ บทความ

                   สิ่งพิมพตางๆ เปนตน


                          1.5  ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล

                                 1. การสัมภาษณบุคคลที่เกี่ยวของ

                                 2. การบันทึกขอมูลจากจากบันทึกหรือเอกสารของหนวยงานตางๆ
                                 3. การอานและศึกษาคนควา

                                 4. การคนหาขอมูลจากอินเทอรเน็ต

                                 5. การเขารวมในเหตุการณตางๆ

                                 6. การฟงวิทยุและดูโทรทัศน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164