Page 166 - คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค.21001
P. 166

160


                          2.6 การนําเสนอขอมูลในรูปตารางแจกแจงความถี่


                          ขอมูลที่เก็บรวบรวมมาไดนั้น ถามีจํานวนมากหรือซ้ํากันอยูมาก เมื่อมาเรียงกันหรือจัดให

                   อยูเปนหมวดหมูแลว จะชวยใหเราบอกรายละเอียดตางๆ หรือสรุปผลเกี่ยวกับขอมูลไดสะดวกและ

                   รวดเร็วขึ้น
                   เชน


                          ในการชั่งน้ําหนักของนักเรียน 40 คน หนวยเปนกิโลกรัม ปรากฏผลดังนี้

                      57      44       46      41      48       50      51      42       43      45

                      45      43       42      40      50       41      47      60       50      52

                      46      42       42      53      46       55      45      41       50      42
                      44      41       40      45      59       44      49      50       39      42



                          ในทางสถิติเรียกวา ขอมูลดิบ หรือคะแนนดิบ หรือคาจากสังเกต เมื่อนํามาจัดเรียงใหมให

                   เปนระบบโดยอาจเรียงจากมากไปหานอยหรือจากนอยไปหามาก แลวบันทึกรอยขีด แสดงจํานวน

                   ครั้งของขอมูลที่เกิดขึ้นซ้ํากันในตาราง จํานวนรอยขีดที่นับไดเรียกวา  ความถี่ของแตละขอมูล
                          ตารางที่นําเสนอขอมูลในรูปแบบนี้เรียกวา ตารางแจกแจงความถี่  และวิธีการจําแนกขอมูล

                   โดยการบันทึกรอยขีดเพื่อหาคาความถี่เรียกวา  การแจกแจงความถี่



                   การสรางตารางแจกแจงความถี่
                          ในกรณีที่ขอมูลที่เก็บรวบรวมมามีจํานวนมากๆ และไมคอยซ้ํากัน ถาจะเรียงลําดับจะเปน

                   การเสียเวลาและสิ้นเปลืองมาก  จึงกําหนดขอมูลเปนชวงๆ และหาความถี่ของชวงขอมูลนั้นๆ

                                  วิธีการสรางตารางแจกแจงความถี่ โดยจัดเปนอันตรภาคชั้นใหทุกๆ ชั้นมีความกวาง
                   เทากัน มีวิธีการดังนี้



                   1. หาพิสัยของขอมูล

                          พิสัย = ขอมูลที่มีคาสูงสุด – ขอมูลที่มีคาต่ําสุด
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171