Page 130 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 130

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม












































                      ภาพที่ 4.2-12 ลักษณะการกระจายตัวเชิงพื้นที่ของโรงงานอุตสาหกรรมย้อนหลัง 5 ปี ของจังหวัดสงขลา


                         จากผลการศึกษาพบว่า รูปแบบการกระจายตัวเชิงพื้นที่ย้อนหลัง 5 ปี แต่ละจังหวัดนั้นยังคงมีแนวโน้ม
                  เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือเป็นการกระจายตัวเชิงพื้นที่แบบกระจุกตัวหรือเป็นกลุ่มก้อน (clustered

                  distribution) ซึ่งโรงงานส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่จะตั้งอยู่ที่ใจกลางเมืองของจังหวัดหรือใกล้เคียงกับพื้นที่เขตเมือง

                  เนื่องจากมีสิ่งอ านวยความสะดวกกับโครงสร้างพื้นฐานที่ดี และเพียงพอต่อการใช้งาน รวมทั้งใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ
                  ทางการเกษตรและแหล่งตลาด อีกทั้งยังมีโครงข่ายที่เชื่อมโยงกับจังหวัดอื่นๆ ที่ส าคัญ จึงท าให้แนวโน้มรูปแบบการ

                  กระจายตัวเชิงพื้นภายใน 5 ปีที่ผ่านมานั้นยังคงมีลักษณะแบบเดิม เพิ่มเติมคือความหนาแน่นของโรงงาน

                  อุตสาหกรรมที่เพิ่มมากขึ้น


                  4.3 รูปแบบการกระจายตัวของอุตสาหกรรมปี 2550

                         จากผลการศึกษา พบว่า ในปัจจุบันประเทศไทยมีแบบรูปการกระจายเชิงพื้นที่ที่มีลักษณะเหมือนกัน
                  กล่าวคือ มีการกระจายเชิงพื้นที่แบบกระจุกตัวหรือเป็นกลุ่มก้อน (clustered distribution)






                  ส านักงานศูนย์วิจัยและให้ค าปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์                            หน้า  4 - 34
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135