Page 471 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 471

รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม


                  สถานีไฟฟ้าย่อยการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานีไฟฟ้าย่อย กฟภ. คิดเป็นร้อยละ 10.15 ปริมาณน้ าจ าหน่าย (ลบ.ม./

                  เดือน) คิดเป็นร้อยละ 8.94 และระยะห่างจากนิคมอุตสาหกรรมที่ใกล้ที่สุด คิดเป็นร้อยละ 7.86

                                       อ าเภอศรีราชา มีคะแนนปัจจัยที่มีความส าคัญและโดดเด่นที่สุดคือ คือ ปัจจัยด้านการ

                  กระจุกตัวของอุตสาหกรรม (ห่วงโซ่อุปทาน) คิดเป็นร้อยละ 16.72 ที่จะประกอบไปด้วยตัวแปรที่ส าคัญ กล่าวคือ

                  จ านวนนิคมอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 14.48 สถานีไฟฟ้าย่อยการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานีไฟฟ้าย่อย กฟภ.

                  คิดเป็นร้อยละ 10.15 และปริมาณน้ าจ าหน่าย (ลบ.ม./เดือน) คิดเป็นร้อยละ 8.94 ดังภาพที่ 10.2-16






































                           ภาพที่ 10.2-16 แผนที่ที่มีศักยภาพในการแข่งขันอุตสาหกรรมยานยนต์และยานยนต์สมัยใหม่

                                                     ระดับอ าเภอในจังหวัดชลบุรี


                                    (2) อ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

                                         อ าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง เป็นพื้นที่ที่ศักยภาพในการแข่งขันอุตสาหกรรมยาน

                  ยนต์และยานยนต์สมัยใหม่ ในระดับที่มีศักยภาพมากที่สุด โดยอ าเภอเมืองระยอง มีคะแนนปัจจัยที่มีความส าคัญ

                  และโดดเด่นที่สุดคือ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ คิดเป็นร้อยละ 15.18 ที่จะประกอบไปด้วยตัวแปรที่ส าคัญ กล่าวคือ

                  ผลิตภัณฑ์มวลรวมรายจังหวัด (GPP) คิดเป็นร้อยละ 85.7 และมูลค่าการลงทุนโรงงานในพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 2.86

                  ดังภาพที่ 10.2-17



                  ส ำนักงำนศูนย์วิจัยและให้ค ำปรึกษำแห่งมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์                            หน้า 10 - 60
   466   467   468   469   470   471   472   473   474   475   476