Page 479 - โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
P. 479
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรม
ปัจจัย W ตัวแปร R
สถานีต้นทางการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานี
9.6
ไฟฟ้าแรงสูง กฟภ.
สถานีไฟฟ้าย่อยการไฟฟ้านครหลวง หรือสถานี
11.3
ไฟฟ้าย่อย กฟภ.
การจ าหน่ายกระแสไฟฟ้า (รวม) 9.2
ปริมาณน้ าจ าหน่าย (ลบ.ม./เดือน) 25.4
ปริมาณน้ าผลิตคงเหลือ (ลบ.ม./เดือน) 16.7
ด้านแรงงาน 12.2 จ านวนแรงงาน 100
ด้านนโยบาย 13.5 พื้นที่นอกผังสี (ตร.ม) 4.4
พื้นที่ในผังสี: ยกเว้นสีม่วง (ตร.ม) 47.3
พื้นที่ในผังสี: ผังสีม่วง (ตร.ม) 34.3
คะแนนผลรวมด้านนโยบาย 14.0
ด้านสิ่งแวดล้อม 5.2 คะแนนรวมปัจจัยน้ าท่วม 43.2
คะแนนรวมปัจจัยภัยแล้ง 56.8
ปัจจัยทางด้านโรงพยาบาล 10.8 จ านวนโรงพยาบาล (รัฐ) 38.8
และสถานศึกษา จ านวนเตียงโรงพยาบาล (รัฐ) 20.5
จ านวนสถานศึกษา: ระดับอุดมศึกษา 40.6
3) ผลการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ในอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
โดยผลการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ สามารถบ่งบอกถึงระดับศักยภาพของพื้นที่ในการแข่งขัน
ของอุตสาหกรรมในระดับอ าเภอ ซึ่งจะสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ระดับ กล่าวคือ ศักยภาพน้อย ศักยภาพค่อนข้าง
น้อย ศักยภาพปานกลาง ศักยภาพมาก และศักยภาพมากที่สุด โดยผลสรุปการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ระดับอ าเภอ
ของอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร ประกอบไปด้วยพื้นที่ที่อยู่ในระดับศักยภาพน้อย จ านวน 407 อ าเภอ ระดับ
ศักยภาพค่อนข้างน้อย จ านวน 312 อ าเภอ ระดับศักยภาพปานกลาง จ านวน 127 อ าเภอ ระดับศักยภาพมาก
จ านวน 70 อ าเภอ โดยมีพื้นที่ที่มีระดับศักยภาพมากที่สุดอยู่ทั้งสิ้น 12 อ าเภอ ได้แก่ อ าเภอเมืองสมุทรสาคร
(จังหวัดสมุทรสาคร) อ าเภอเมืองระยอง (จังหวัดระยอง) อ าเภอเมืองชลบุรี อ าเภอบางละมุง และอ าเภอศรีราชา
ส ำนักงำนศูนย์วิจัยและให้ค ำปรึกษำแห่งมหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ หน้า 10 - 68