Page 59 - คู่มือหลักสูตรสาขาวิชาแมคคาทรอนิกส์ และคลัสเตอร์หุ่นยนต์
P. 59

การพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์

                        มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์
                                                 มาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์ และสาขาคลัสเตอร์หุ่นยนต์




                              สามารถท าหลายอย่างได้ ในปัจจุบันหุ่นยนต์พ่นสีมีการพัฒนาควบคู่ไปกับหุ่นยนต์ประเภท
                       อเนกประสงค์ เราสามารถเปลี่ยนหุ่นยนต์อเนกประสงค์ธรรมดาให้กลายเป็นหุ่นยนต์พ่นสีได้ ด้วยการ

                       เปลี่ยนส่วนประกอบและการตั้งค่า
                                 หากใช้งานเสร็จหุ่นยนต์อเนกประสงค์ดังกล่าวยังสามารถน ากลับไปท างานอย่างอื่นเช่น

                       งานประกอบหรือหยิบจับ จัดเรียงผลิตภัณฑ์ได้ เพิ่มความหลากหลายในการท างานให้มากขึ้น

                              ความปลอดภัยในการท างานที่สูงขึ้น สีในโรงงานอุตสาหกรรมคือหนึ่งในสารเคมีที่อาจส่งผล
                       อันตรายต่อผู้ท างานได้ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ดังนั้นการเปลี่ยนมาใช้หุ่นยนต์นอกจากจะท าให้

                       เสี่ยงต่อความผิดพลาดน้อยกว่า ยังมีผลดีต่อสุขภาพของพนักงานอีกด้วย

                              ประหยัดค่าใช้จ่ายในระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นในแง่การลงทุนในบุคลากรหรือค่าใช้จ่ายจิปาถะ
                       ยิบย่อย การเข้ามาของหุ่นยนต์จะช่วยบรรเทาการใช้จ่ายส่วนเกินที่ควบคุมได้ยากนี้ รวมถึงสามารถ

                       วางแผนค่าใช้จ่ายในแต่ละปีได้ง่ายขึ้น สาเหตุเพราะหุ่นยนต์จะมีช่วงเวลาการบ ารุงรักษา พัฒนา

                       ค่อนข้างตายตัว
                              ไม่จ าเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง คงปฏิเสธได้ยากว่าแรงงานมากฝีมือในปัจจุบันนั้นมี

                       จ านวนค่อนข้างน้อย โดยเฉพาะผู้มีทักษะเฉพาะทางที่สูง และหากมีก็จะมีค่าตัวที่สูงมากจนน่าตกใจ
                       ไม่ว่าจะเป็นงานพ่นสีหรืองานอื่นๆที่ใกล้เคียงกัน การเลือกหุ่นยนต์เข้ามาท าหน้าที่แทนจึงเป็นตัวเลือก

                       ที่ประหยัดเงินมากกว่า


                       0223 แก้ไขปัญหาขัดข้องระบบหุ่นยนต์

                       #ท าไมปุ่มหยุดฉุกเฉิน (Emergency stop) ต้องใช้เป็นหน้า Contact NC (TNP Automation System
                       Co., Ltd., 4 พฤศจิกายน 2017, [ออนไลน์])

                              การออกแบบระบบควบคุมเครื่องจักร สิ่งที่ต้องเป็นอันดับแรกคือการออกแบบระบบความ

                       ปลอดภัยของเครื่องจักร วันนี้เราจะมาพูดถึงเรื่องปุ่มหยุดฉุกเฉิน E-Stop หรือ Emergency โดยปกติ
                       แล้วปุ่มหยุดฉุกเฉินนี้เมื่อกดแล้วจะหยุดการจ่ายระบบไฟไปอุปกรณ์ ท าให้อุปกรณ์หยุดท างานเพราะ

                       ไม่มีไฟเลี้ยง ดังนั้นปุ่มหยุดฉุกเฉินควรจะใช้หน้า Contact ที่เป็น NC (Normal close) เท่านั้น
                              การใช้ปุ่มหยุดฉุกเฉินส าหรับหยุดเครื่องจักรในกรณีฉุกเฉินนั้น ควรจะตัดการท างานของ

                       Software และ Hardware

                              จากรูปใช้ปุ่มหยุดฉุกเฉิน 2 หน้า Contact เป็น NC (Normal close) ทั้งคู่ Contact ที่ 1 ใช้
                       ส าหรับตัดสัญญาณ Input เข้า PLC Contact ที่ 2 ใช้ส าหรับตัดสัญญาณ COM Output ของ PLC

                              Contact ที่ 1 ตัดการท างาน Software เราจะใช้ Input X0 ของ PLC ในการท างานของ
                       โปรแกรม ถ้าสัญญาณ X0 มีสถานะเป็น 1 โปรแกรม PLC ก็จะท างาน แต่ถ้าสถานะ X0 เป็น 0

                       โปรแกรมก็จะไม่ท างาน หมายความว่าอาจจะมีการกดปุ่มฉุกเฉินหรืออาจจะมีสายไฟขาด ***เหตุผลที่




                       รายงานการพัฒนาองค์ความรู้และอบรมพัฒนาบุคลากรทางด้านดิจิทัลและหุ่นยนต์         หน้า 55
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64