Page 197 - การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
P. 197
188
กิจกรรมท้ายเรื่องที่ 3 การบันทึกรายรับ-รายจ่าย
กิจกรรมที่ 3.1 ตอบค าถามต่อไปนี้
1. ให้ท าเครื่อง หน้าความหมายของรายจ่ายที่เป็น “รายจ่ายจ าเป็น” และให้ท า
เครื่อง หน้าความหมายของรายจ่ายที่เป็น “รายจ่ายไม่จ าเป็น”
ตอบ
1) รายจ่ายที่จะต้องจ่าย ไม่สามารถตัดออกได้
2) รายจ่ายที่จะจ่ายหรือไม่จ่ายก็ยังสามารถมีชีวิตอยู่ได้
3) ค่ารักษาพยาบาล
4) ค่าเหล้า
5) รายจ่ายที่ส าคัญส าหรับชีวิต เช่น อาหาร ค่าที่อยู่อาศัย
6) รายจ่ายที่ไม่มีบทบาทส าคัญต่อชีวิต
7) ค่าหวย
2. ขั้นตอนของการจัดท าบันทึกรายรับ-รายจ่ายมีอะไรบ้าง ให้อธิบาย
ตอบ
ขั้นตอนที่ 1: ค. ให้ก าหนดระยะเวลาที่จดรายรับ-รายจ่ายว่าจะจดกี่วัน
ขั้นตอนที่ 2: ก. หากระดาษหรือสมุดที่พกง่าย ๆ มาเป็นบันทึกรายรับ-รายจ่าย
ขั้นตอนที่ 3: ง. จดทุกครั้งที่ใช้เงิน ไม่ว่าจะรับหรือจ่าย
ขั้นตอนที่ 4: ข. สรุปการใช้จ่ายเมื่อถึงสิ้นเดือน
3. ส่วนประกอบที่ส าคัญของบันทึกรายรับ-รายจ่ายมีอะไรบ้าง ให้อธิบาย
ตอบ การบันทึกรายรับ-รายจ่ายสามารถท าได้หลากหลายรูปแบบ ผู้บันทึกสามารถ
ออกแบบตารางบันทึกได้ตามความถนัดหรือที่ตนเองชื่นชอบ แต่การบันทึก
รายรับ-รายจ่ายในแต่ละเดือนนั้น ควรมีส่วนประกอบดังนี้
1) ส่วนของการบันทึกรายรับ-รายจ่าย ควรเป็นตารางที่มีความยาวเพียงพอต่อ
การบันทึกตลอดระยะเวลาอย่างน้อย 1 เดือน (อาจใช้กระดาษมากกว่า
1 หน้า) โดยจะต้องประกอบด้วยหัวข้อดังนี้
วันที่ – กรอกวันที่ที่มีรายรับหรือรายจ่ายเกิดขึ้น
เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเรื่อง ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 l ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย