Page 42 - การเงินเพื่อชีวิต 3 สค32029
P. 42
33
เงินฝากที่ได้รับความคุ้มครอง เงินฝากที่ไม่ได้รับการคุ้มครอง
เงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ
เงินฝากประจ า เงินฝากที่มีอนุพันธ์แฝง
เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากระหว่างสถาบันการเงิน
บัตรเงินฝาก เงินฝากในบัญชีเงินบาทของผู้มีถิ่นที่อยู่นอกประเทศ
ใบรับฝากเงิน (เป็นประเภทบัญชีพิเศษที่เปิดเพื่อท ารายการเฉพาะ
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงิน)
เงินฝากใน “บัญชีร่วม” หรือ
“บัญชีเพื่อ” เงินฝากในสหกรณ์ (เนื่องจากสหกรณ์ไม่ได้เป็น
สถาบันการเงินภายใต้กฎหมายคุ้มครองเงินฝาก)
เงินลงทุนอื่น ๆ เช่น กองทุนรวม หุ้นกู้
ตั๋วแลกเงิน พันธบัตรรัฐบาล สลากออมทรัพย์ (เป็น
ผลิตภัณฑ์อื่นที่มิใช่เงินฝากจึงไม่ได้รับการคุ้มครอง)
5
จ านวนเงินที่ได้รับการคุ้มครอง
จ านวนเงินฝากรวมดอกเบี้ยที่จะได้รับการคุ้มครองตามเกณฑ์ที่กฎหมายก าหนด
ดังนี้
จ านวนเงินฝากที่คุ้มครอง
ระยะเวลา
(ต่อรายผู้ฝาก ต่อสถาบันการเงิน)
11 ส.ค. 2558 – 10 ส.ค. 2559 ไม่เกิน 25 ล้านบาท
11 ส.ค. 2559 – 10 ส.ค. 2561 ไม่เกิน 15 ล้านบาท
11 ส.ค. 2561 – 10 ส.ค. 2562 ไม่เกิน 10 ล้านบาท
11 ส.ค. 2562 – 10 ส.ค. 2563 ไม่เกิน 5 ล้านบาท
11 ส.ค. 2563 เป็นต้นไป ไม่เกิน 1 ล้านบาท
หมายเหตุ: เงินฝากส่วนที่เกินความคุ้มครอง จะได้รับคืนเพิ่มเติมหลังจากการช าระบัญชีสถาบัน
การเงินที่ปิดกิจการ
5
ข้อมูลนี้อาจมีการปรับเปลี่ยนในอนาคต ดังนั้น ควรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่สถาบันคุ้มครองเงินฝาก โทร. 1158
เว็บไซต์ www.dpa.or.th
ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 | หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ว่าด้วยเรื่องของเงิน