Page 47 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 47

ภูมิสถานกรุงเทพมหานคร  ตั้งอยู่บนสันดอน                                                                         20 ํ 41’ N
               บางกอกในที่ราบลุ่มปากแม่น�้าเจ้าพระยาบริเวณอ่าวไทย                                                                   101 ํ 43’ E
               ตอนบนรูปตัว “ก” ในอดีตเคยเป็น “ชะวากทะเล” ซึ่งมีชายฝั่ง
               เว้าลึกเข้าไปในแผ่นดินเป็นอ่าวกว้าง ก่อนที่จะถอยร่นออกมา
               เป็นแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยปัจจุบัน
                     ในช่วงต้นพุทธศตวรรษ  สมัยทวารวดี-ฟูนัน  พบ                                      เชียงราย
               หลักฐานเมืองคูคลองและก�าแพงเมือง-คูเมือง แสดงถึงการตั้ง
               ถิ่นฐานสัมพันธ์กับแนวชายฝั่งทะเลในอดีต เช่น เมืองคูบัว
               เมืองพระประโทน (นครปฐม) เมืองก�าแพงแสน เมืองอู่ทอง
               เมืองอินทร์บุรี เมืองจันเสน เมืองลพบุรี เมืองอู่ตะเภา เมือง
               ศรีมโหสถ เมืองพระรถเมรี เป็นต้น การถอยร่นของแนวชายฝั่ง                                  พะเยา
               ทะเลท�าให้ไม่สะดวกต่อการคมนาคมออกสู่ทะเล เกิดเมืองใหม่              แม่นํ้าปิง
               บนฝั่งน�้าที่มีทางออกสู่ทะเลได้สะดวก เช่น เมืองสุพรรณบุรี            เชียงใหม่                            น่าน
               บนแม่น�้าท่าจีนแทนเมืองอู่ทอง  และมีการขุดคลองจาก                                                      แม่นํ้าน่าน
               กลางเมืองพระประโทน (นครปฐม) ที่เจดีย์พระประโทนไปออก                  ลําพูน
               แม่น�้าท่าจีน  (อ�าเภอนครชัยศรี)  ในปี  พ.ศ.  ๑๘๙๓                                         แม่นํ้ายม
               เมืองพระนครศรีอยุธยาสร้างขึ้นเป็นเมืองหลวงของไทยและ                       แม่นํ้าวัง  ลําปาง
               ได้ย้ายมาสร้างเมืองขึ้นใหม่เจริญรุ่งเรืองเป็นกรุงเทพมหานคร                                   แพร่
               บนสันดอนบางกอกสองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยา ใกล้แนวชายฝั่ง
               ทะเลที่ถอยร่นออกมา ณ ต�าแหน่งปัจจุบัน
                                                                                                    อุตรดิตถ์


                     ลุ่มน�้าเจ้าพระยา
                     ปิง วัง ยม น่าน แม่น�้า ๔ สาย ระบายน�้าจากบริเวณ
               ภูเขาและหุบเขาในภาคเหนือลงสู่ที่ราบบริเวณจังหวัดอุตรดิตถ์                       สุโขทัย
               สุโขทัย  ก�าแพงเพชร  ไหลผ่าน  “ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน”               ตาก
               มารวมตัวกันเป็นแม่น�้าสายเดียวที่บริเวณ  “ตีนปิง”  เมือง                                        พิษณุโลก
               นครสวรรค์ เรียกว่า “แม่น�้าเจ้าพระยา” จนถึงจังหวัดชัยนาท
               จากนั้นไหลแยกออกจากกันไหลผ่าน  “ที่ราบเจ้าพระยา                       กําแพงเพชร                  พิจิตร           เพชรบูรณ์
               ตอนล่าง” ได้แก่ “แม่น�้าท่าจีน” ระบายน�้าออกทะเลอ่าวไทย
               ที่จังหวัดสมุทรสาครทางตะวันตก และแม่น�้าเจ้าพระยาไหลผ่าน                            แม่นํ้าปิง
               กรุงเทพมหานคร  ออกสู่อ่าวไทยที่จังหวัดสมุทรปราการ                                      ที่ราบเจ้าพระยาตอนบน
               ทางตะวันออก


                                                                                                  นครสวรรค์                    แม่นํ้าป่าสัก
                     “ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง”
                     ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่างเป็นบริเวณที่ราบลุ่มชายฝั่ง                            อุทัยธานี
               ทะเลติดอ่าวไทย มีลักษณะธรณีสัณฐานที่แสดงให้เห็นถึงการ                                       ชัยนาท
               เปลี่ยนแปลงของแนวชายฝั่งทะเลสอดคล้องกับการขึ้น-ลงของ                                         เจ้าพระยา
                                                                                                               แม่นํ้า
               แผ่นดินและระดับน�้าทะเลในอดีตจนถึงปัจจุบัน ในอดีตเคย                                               สิงห์บุรี
               เว้าลึกเข้ามาในแผ่นดินเป็น “ชะวากทะเล” และได้ถอยร่นออกมา                              ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง  ลพบุรี
               จนเป็นแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทยในปัจจุบัน มีแม่น�้าเจ้าพระยา
               แม่น�้าท่าจีน แม่น�้าแม่กลอง และแม่น�้าบางปะกง ไหลผ่าน                              สุพรรณบุรี                สระบุรี
               ที่ราบลงสู่อ่าวไทยปิดกั้นด้วย  “สันดอนบางกอก”  ที่ตั้ง                                                  พระนครศรีอยุธยา
               กรุงเทพมหานคร ท�าให้ที่ราบเจ้าพระยาตอนล่างต้องประสบกับ                                                              ปราจีนบุรี
               ปัญหาน�้าท่วมขัง มากน้อยตามปริมาณน�้าฝน และระดับขึ้นลง                                      ท่าจีน  แม่นํ้า  ปทุมธานี
               ของน�้าทะเลในอ่าวไทย                                                                นครปฐม
                                                                                                                    กรุงเทพมหานคร
                                                                                                                                ฉะเชิงเทรา
                                                                                                                      สมุทรปราการ
                                                                                               ราชบุรี                                N
                                                                                                                               ชลบุรี
                                                                                                                 อ่าวไทย
                                                               13 ํ 00’ N
                                                               97 ํ 55’ E                        เพชรบุรี                           40 km.



                                                                                                                               l  33  33
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52