Page 49 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 49

14 ํ 24’ N       กรุงเทพมหานครตั้งอยู่บนสองฝั่งแม่น�้าเจ้าพระยาตรงส่วนที่ตัดผ่าน “สันดอนบางกอก”
                                                         101 ํ 22’ E  เกิดจากการทับถมตะกอนบริเวณชายฝั่งยาวระหว่างแม่น�้าท่าจีนทางตะวันตก และแม่น�้าบางปะกง
                                                                    ทางตะวันออก  ปิดกั้นที่ราบลุ่มและเกิดน�้าท่วมขังเป็นพื้นที่กว้างขวางในบริเวณที่เคยเป็น
                                                                    ชะวากทะเลมาก่อน  ทางตะวันตกจรดเมืองโบราณนครชัยศรี  (พระปทม)  จังหวัดนครปฐม
                                                                    ทางตะวันออกจรดเมืองศรีมโหสถ จังหวัดปราจีนบุรี เป็นพื้นที่รับน�้าหลากจากลุ่มน�้าเจ้าพระยา
                                                                    ทั้งหมด ก่อนระบายออกสู่ทะเลอ่าวไทยรูปตัว “ก”


                                                                            กรุงเทพมหานครเจริญรุ่งเรืองจากธรรมชาติที่เป็นเมืองคูคลอง

                                                                          “เมืองคูคลอง” เป็นภูมิปัญญาการตั้งถิ่นฐานสร้างบ้านแปงเมืองในที่ราบลุ่มชายฝั่งทะเล
                                                                    สืบทอดมายาวนานแต่อดีตครั้งสมัยทวารวดี-ฟูนัน  ตราบเท่าทุกวันนี้  เป็นที่รู้จักดีของ
                                                                    ชาวตะวันตกมาแต่ครั้งพระนครศรีอยุธยาเป็นราชธานี และเรียกว่า “เวนิสตะวันออก”


                                                                          สภาพธรรมชาติที่ราบลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยาซึ่งในอดีตเคยเป็นชะวากทะเลมาก่อน
                                                                    มีน�้าหลากท่วมพื้นที่เป็นประจ�า มากน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณน�้าฝนในลุ่มแม่น�้าเจ้าพระยา และ
                                                                    ตามสภาพขึ้น-ลงของระดับน�้าทะเลในอ่าวไทย ส่งผลให้พื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์เป็นอู่ข้าวอู่น�้า
                                                                    มีการตั้งถิ่นฐานขุดคูคลองเพื่อการอยู่อาศัย เกษตรกรรมท�านา และการคมนาคมครอบคลุม
                                                                    ทั่วทั้งพื้นที่ ส่งผลถึงความเจริญรุ่งเรืองอย่างต่อเนื่องตามกาลเวลาและภูมิปัญญาการสร้างบ้าน
                                                                    แปงเมือง  จนเป็นที่รู้จักของนานาประเทศ  ในฐานะเมืองท่าค้าขายและเมืองคูคลอง  มาแต่
                                                                    ครั้งสมัยทวารวดี-ฟูนัน จนถึงสมัยพระนครศรีอยุธยาและกรุงเทพมหานครเป็นราชธานี
                                                                                                        T








                                                                                                              he Landscape of
                                                                                                              The Bangkok Metropolis

                                                                             Bangkok is located on the Bang Kok Delta in the Chao Phraya basin
                                                                        covering the area of the upper Gulf of Thailand, which is similar to the Thai
                                                                        alphabet “ก (Kor)”.  In the past, this area was once an estuary with a large
                                                                        inland bay before turning into the coastal areas of the Gulf of Thailand.
                                                                             At the beginning of the Buddhist Era, in the Funan-Dvaravati Period,
                                                                        evidences from the canal cities and city wall-moats show that there was a
                                                                        settlement constructed along coastal lines in the past, for example, Muangs
                                                                        Ku Bua, Phra Phrathon (Nakhon Pathom), Kamphaeng Saen,
                                                                        Indaraburi, Jansaen, Lopburi, Utapao, Si Mahosot, and Muang Phrarot Meri,
                                                                        etc. The retreat of the seashore caused inconveniences to sea transportation
                                                                        leading to the establishment of new cities with more exits to the sea.
                                                                        One example of such cities was Muang Suphan Buri, on the Tha Chin River,
                                                                        which replaced Muang U thong.
                                                                             Bangkok, a prosperous city with natural canals
           แม่นํ้าบางปะกง                                               which flooded regularly depending on the amount of rainfall in the basin
                                                                             In the past, the plains of the Chao Phraya basin were once estuaries
                                                                        and the sea level fluctuations in the Gulf of Thailand. This made the areas
                                                                        fertile and served as the bread basket of the region. Ditches and canals were
                                                                        dug by settlers for survival and agricultural purposes as well as for
                                                           N            transportation across these areas, resulting in continuous prosperity.
                                                                        This part of the region was known internationally as a trading port and as
                                                                        a city of canals from the Funan-Dvaravati Period through the life of the
                                                         8 km.          two capital cities: Phra Nakhon Si Ayutthaya and Bangkok.










                                                                                                                               l  35  35
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54