Page 69 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 69

4 พฤศจิกายน 2554
                                                          กรุงเทพฯ...ฝ่ ำวิกฤติน�้ำท่วม ๒๕๕๔


                                                                พ.ศ.  ๒๕๕๔  ประเทศไทย  มีฝนตกหนักหลำยครั้ง  เนื่องจำกมีพำยุพัดผ่ำนประเทศไทย
                                                          จ�ำนวน ๕ ลูก ได้แก่ พำยุโซนร้อนไหหม่ำ เข้ำสู่ประเทศไทยตอนบน วันที่ ๒๖ มิถุนำยน พำยุนกเตน
                                                          เคลื่อนตัวเข้ำสู่ภำคเหนือตอนบนในวันที่  ๓๑  กรกฎำคม  พำยุโซนร้อนไถ่ห่ำง  เคลื่อนเข้ำปกคลุม
                                                          ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และภำคเหนือ วันที่ ๒๘ กันยำยน, พำยุโซนร้อนเนสำด และพำยุโซนร้อน
                                                          นำลแก เคลื่อนเข้ำประเทศไทยพร้อมๆ กัน ส่งผลท�ำให้ในช่วงวันที่ ๕ ตุลำคม เป็นต้นมำ เกิดน�้ำท่วม
                                                          หลำยพื้นที่ในภำคกลำง โดยเฉพำะตลอดลุ่มน�้ำเจ้ำพระยำ มีปริมำณน�้ำที่กักเก็บในเขื่อนทุกแห่งเกินกว่ำ

                                                          ระดับวิกฤติ ต้องมีกำรระบำยน�้ำออกอย่ำงรวดเร็ว บริเวณที่รำบเจ้ำพระยำทั้งตอนบน และตอนล่ำง
                                                          เกิดน�้ำท่วม  จนถึงกรุงเทพมหำนคร  และปริมณฑล  ซึ่งเป็นพื้นที่ระบำยน�้ำออกสู่ทะเลอ่ำวไทย
                                                          เป็นมหำอุทกภัยที่สร้ำงควำมสูญเสียทำงเศรษฐกิจให้กับประเทศชำติอย่ำงใหญ่หลวง รวมมูลค่ำมำกถึง
                                                          ๑.๔ ล้ำน-ล้ำนบำท
                                                                พื้นที่กรุงเทพมหำนครและบริเวณใกล้เคียงที่มีกำรป้องกันน�้ำท่วม ตำมแนวทำงพระรำชด�ำริ
                                                          พื้นที่ประมำณไม่น้อยกว่ำ  ๖๕๐  ตำรำงกิโลเมตร  สำมำรถฝ่ำวิกฤติน�้ำท่วม  เว้นแต่บริเวณโดยรอบ
                                                          อำจถูกน�้ำท่วมบ้ำงแต่ก็เพียงระยะสั้น

                                                                ภำพ  Radarsat  เผยแพร่โดยส�ำนักงำนพัฒนำเทคโนโลยีอวกำศและภูมิสำรสนเทศ
                                                          (องค์กำรมหำชน) สทอภ. คัดเลือกมำแสดงเฉพำะวันที่ ๖, ๑๐ ตุลำคม และ ๔ พฤศจิกำยน แสดงให้เห็น
                                                          สถำนภำพน�้ำท่วมในภำพ (สีน�้ำเงิน)
                                                                บริเวณที่ราบเจ้าพระยา  น�้ำท่วมคลุมทั่วทุกพื้นที่  และเปลี่ยนแปลงเป็นล�ำดับตำมสภำพ
                                                          ปริมำณน�้ำฝน
                                                                บริเวณที่ราบเจ้าพระยาตอนบน  ระดับน�้ำเพิ่มมำกขึ้นในวันที่ ๑๐ ตุลำคม และลดน้อยลง
                                                          ในวันที่ ๔ พฤศจิกำยน ๒๕๕๔
                                                                บริเวณที่ราบเจ้าพระยาตอนล่าง  ระดับน�้ำมีน้อยในวันที่  ๑๐  ตุลำคม  และเพิ่มสูงขึ้น
                                                          ในวันที่ ๔ พฤศจิกำยน ๒๕๕๔

                                                                บริเวณกรุงเทพมหานครและปริมณฑล น�้ำท่วมทั่วทั้งพื้นที่รำบลุ่มสุดเขตตะวันตก แถบจังหวัด
                                                          นครปฐมจนสุดเขตตะวันออกจังหวัดปรำจีนบุรี ช่วงวันที่ ๖ ตุลำคม - ๑๐ พฤศจิกำยน ระดับน�้ำลด
                                                          น้อยลงในวันที่ ๑๐ ตุลำคม และท่วมหนำแน่นสูงสุดในวันที่ ๔ พฤศจิกำยน
                                                                บริเวณกรุงเทพฯ พื้นที่ป้องกันน�้ำท่วม และแก้มลิงหนองงูเห่ำ วันที่ ๖ ตุลำคม น�้ำท่วมเฉพำะ
                                                          บริเวณรอบพื้นที่ป้องกันน�้ำท่วมและบริเวณหนองงูเห่ำบำงส่วน และเพิ่มสูงสุดในวันที่ ๔ พฤศจิกำยน
                                                          มีน�้ำท่วมหนำแน่นทั่วทั้งบริเวณ  โดยรอบพื้นที่ท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิ  จรดแนวถนนบำงนำ-ตรำด
                                                          ส่วนพื้นที่ตอนทิศใต้ของถนนน�้ำไม่ท่วม เนื่องจำก “สะพำนน�้ำ” สำมำรถดูดน�้ำจำกหนองงูเห่ำลงสู่ทะเล

                                                          ได้รวดเร็ว เป็นวิธีกำรขนน�้ำออกทะเลตำมแนวพระรำชด�ำริ เริ่มต้นแห่งภูมิปัญญำป้องกันน�้ำท่วมถำวร
                                                          ส�ำหรับอนำคต


































                                                                                                                               l  55  55
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74