Page 71 - Thai Heritage from Space_ebook
P. 71

ก�าแพงเมือง-คูเมือง  มีควำมส�ำคัญเป็นกำรแสดงอำณำเขตของเมือง
               ใช้ประโยชน์ในกำรป้องกัน กักเก็บน�้ำ และกำรคมนำคมขนส่ง
                     ในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ พระบำทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ำจุฬำโลกมหำรำช
               ทรงขุดคลองมหำนำค เพื่อกำรเดินทำงและขนส่งระหว่ำงภำยนอกและภำยในก�ำแพง
               ประชำชนใช้เล่นสักวำในเทศกำลลอยกระทง
                     ในรัชกำลพระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ทรงขุดคลองนครเขื่อนขันธ์
               ทรงให้เป็นคลองลัดทำงด้ำนใต้
                     ในรัชกำลพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ทรงให้ขุดคลองแสนแสบ
               ออกสู่แม่น�้ำบำงปะกง
                     ในรัชกำลพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ทรงขุดคลองผดุงกรุงเกษม
               พร้อมสร้ำงป้อมปีกกำ ๘ ป้อม เพื่อขยำยแนวเขตเมือง และเพื่อกำรคมนำคม รวมทั้ง
               ขุดคลองควบคู่กับถมคันดินเป็นถนนสองข้ำงคลอง  ได้แก่  คลองถนนตรง  หรือ
               ถนนพระรำม ๔ และคลอง-ถนนสีลม เป็นต้น



                                                  2547                                                                        13 ํ 46’ N
                                                                                                                              100 ํ 31’ E




                                                                                                              พระราชวังดุสิต












                                                                         ถนนราชดําเนิน



                                                                                   อนุสาวรีย์
                                                                                  ประชาธิปไตย



                                                                         พระบรมมหาราชวัง







                                                        พระราชวังเดิม




                                                                                                                             N






                                                                                                                          500 m.
                                                  13 ํ 43’ N
                                                  100 ํ 28’ E                                                         © DigitalGlobe_2011

 “กรุงธนบุรี” และ “กรุงเทพมหานคร” เป็นเมืองท่าชาวต่างประเทศไปมา   ค้าขาย เมืองบางกอกที่ฝ่ายสยาม เรียกว่า “เมืองธนบุรี” นั้น ชาวต่างชาติ
 ไม่มีใครรู้จัก เรียกกันแต่ชื่อ “บางกอก” มาแต่สมัยพระนครศรีอยุธยา   เป็นราชธานี และยังคงเรียกว่า “Bangkok” อยู่ในปัจจุบัน







                                                                                                                               l  57  57
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76