Page 74 - รายงานการดำเนินงานของสำนักงานสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2563
P. 74

รูปแบบการจัดท ารายงานประจ าปี 2563 (Annual Report)  | 74


                              วันที่สอง ศึกษาดูงานด้านการเกษตร ณ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอนทรีย์บ้านแสนรักษ์ห้วย
                                                                                      ิ
                       หมอนทอง อาเภอก าแพงแสน จังหวัดนครปฐม โดยทีมงานวิทยากร ภาคเอกชนที่เข้ามาร่วมดูแล

                       กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเกษตรอนทรีย์บ้านแสนรักษ์ห้วยหมอนทอง และวิทยากรจากผู้น ากลุ่มฯ ที่น า
                                              ิ
                       ความรู้ในการปลูกผักอนทรีย์ ผักสลัด ส่งขายให้กับตลาด Modern  Trade  เช่นห้างสรรพสินค้า
                                          ิ
                                                             ื้
                       ขั้นตอนการบริหารจัดการเริ่มจากการเตรียมพนที่ดิน การปลูก การดูแลรักษา และการตลาด ซึ่งต้อง
                       ให้การดูแลทั้งระบบเพอให้ผลผลิตที่จะส่งให้ลูกค้ามีคุณภาพตามความต้องการ โดยการบริหารแบบ
                                         ื่
                       กลุ่มฯ ดูแลสมาชิกให้สามารถน าผลผลิตมาจ าหน่ายตลอดทั้งปี ถือเป็นอกตัวอย่างที่ลูกหลานเกษตรที่
                                                                                  ี
                       เข้าร่วมโครงการฯ จะน าไปปรับใช้ในการท าการเกษตรในพื้นที่ของตนเอง
                       สรุปผลส าเร็จในการจัดประชุมฯ ได้ดังนี้

                              1) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความเข้าใจโครงการ และพร้อมในการขับเคลื่อนโครงการน าลูกหลาน
                       เกษตรกรกลับบ้านสานต่ออาชีพการเกษตร
                              2) เกิดเครือข่ายการส่งเสริมการเรียนรู้ระหว่างผู้เข้าร่วมโครงการ สถาบันเกษตรกร และ

                       หน่วยงานภาคีในพื้นที่
                              3) สามารถน าไปปรับใช้กับพนที่ของผู้เข้าร่วมโครงการ เกิดแรงกระตุ้นในการน าองค์ความรู้
                                                      ื้
                       ไปประกอบอาชีพเกษตรกรรมในบริบทของพื้นที่ตัวเอง

                       3. ผลลัพธ์ : (ระบุทั้งผลลัพธ์เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ)

                       ผลลัพธ์เชิงปริมาณ
                         ผู้เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างเครือข่ายน าลูกหลานเกษตรกรกลับบ้าน จ านวน 35 ราย

                       ผลลัพธ์เชิงคุณภาพ

                         เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ และน าไปปรับใช้กับพื้นที่ของผู้เข้าร่วมโครงการ เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1

                         กลุ่มการเรียนรู้

                       4. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางแก้ไข


                              1) กลุ่มเปูาหมาย ในการประชุมฯ เป็นผู้สมัครเข้าร่วมโครงการน าลูกหลานเกษตรกรกลับ
                       บ้านสานต่ออาชีพการเกษตร ซึ่งโครงการ ได้ด าเนินงานมาเป็นเวลาระยะหนึ่งแล้ว แต่ลูกหลานใน

                                                                                    ื้
                       พื้นที่จังหวัดปทุมธานี ส่วนมากไม่ได้เป็นสมาชิกสหกรณ์ และเป็นคนนอกพนที่ที่เข้ามาซื้อที่ดินภายใน
                       จังหวัดเพอประกอบอาชีพทางการเกษตร ท าให้การประสานงานตลอดจนการน าความรู้ที่ได้รับไป
                               ื่
                       ปฏิบัติต่อยอดได้น้อยลง

                              2) ลูกหลานในโครงการฯ ส่วนมากเป็นเกษตรกรรุ่นใหม่ ที่เพงเริ่มท าการเกษตรเป็นครั้งแรก
                                                                                ิ่
                       ท าให้บางครั้งการรับรู้ข่าวสาร หรือการรับองค์ความรู้ทางการเกษตรในเรื่องต่างๆ ยังต้องใช้เวลาใน

                       การปรับตัวเพื่อให้สามารถน าไปปรับใช้กับพื้นที่การเกษตรของตนเองได้







                       ส านักงานสหกรณ์จังหวัดปทุมธานี                                         http://web.cpd.go.th/pathumthani/
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79