Page 447 - แผนการแนะนำส่งเสริม พัฒนา และกำกับดูแลสหกรณ์กลุ่มเกษตรกร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
P. 447
ิ
ประกอบด้วยลูกหนี้ที่ขาดสมาชิกภาพ จ านวน 89,719.80 บาท ลูกหนี้ตามค าพพากษา จ านวน 322,02.00 บาท และลูกหนี้ระหว่าง
ด าเนินคดี จ านวน 267,157.10 บาท รวมทั้งสิ้น 1,481,878.90 บาท ท าให้สหกรณ์ต้องรับภาระค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ จ านวน
ิ่
1,168,971.90 บาท ดังนั้น สหกรณ์ต้องติดตามหนี้จากลูกหนี้ที่ขาดสมาชิกภาพ รวมทั้งป้องกันมิให้เกิดลูกหนี้ดังกล่าวเพมขึ้นอก
ี
ทั้งนี้อยู่กับการการก าหนดหลักเกณฑ์การให้เงินกู้ยืมรัดกุมมากขึ้น รวมทั้งหามาตรการป้องกันความเสี่ยงจากการที่สมาชิกไม่
สามารถส่งช าระหนี้ และป้องกันมิให้เกิดลูกหนี้เงินให้กู้ยืมที่หลักประกันบกพร่อง อาทิเช่น คนค้ าประกันไม่ครบ หรือค้ าประกัน
เกินกว่าที่ระเบียบก าหนด เป็นต้น
ั
- สภาพคล่องทางการเงิน สหกรณ์มีอตราทุนหมุนเวียน 0.51 เท่า ปีก่อน 0.61 เท่า ซึ่งลดลงจากปีก่อนและ
ิ
หากพจารณาจากส่วนประกอบของสินทรัพย์หมุนเวียนส่วนใหญ่จะอยู่ในลูกหนี้เงินกู้ซึ่งสามารถช าระหนี้ได้ตามก าหนดทั้งจ านวน
สหกรณ์มีสภาพคล่องทางการเงิน และสามารถช าระหนี้สินระยะสั้นได้ตามก าหนด อย่างไรก็ตามสภาพคล่องของสหกรณ์ย่อมขึ้นอยู่
กับการบริหารลูกหนี้เงินกู้ด้วย และพจารณาจากส่วนประกอบของหนี้สินหมุนเวียนส่วนใหญ่เป็นเงินกู้ยืมและเงินรับฝากสมาชิก
ิ
ั
ซึ่งในปัจจุบันอตราดอกเบี้ยในท้องตลาดมีการปรับตัวลดลงเป็นระยะ ๆ ดังนั้น สหกรณ์ควรบริหารด้านเงินรับฝากให้ทันต่อ
ั
สถานการณ์ และระมัดระวังการไหของเงินรับฝากที่มีอตราเพมจ านวนมาก แต่อย่างไรก็ตาม จากการตรวจสอบพบว่าสหกรณ์มีการ
ิ่
บริหารเงินทุนที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่บางส่วน อาทิเช่น การน าเงินไปฝากสหกรณ์อน สหกรณ์ต้องระมัดระวังในการน า
ื่
เงินทุนของสหกรณ์ไปฝากหรือให้เงินกู้กับสหกรณ์ที่มีผลประกอบการที่ไม่ดี อาจส่งผลกระทบให้สหกรณ์ต้องรับภาระค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสูญ ซึ่งส่งผลกระทบต่อก าไรของสหกรณ์ได้
3. ด้านวัตถุดิบ* (Material) เครื่องจักรและอปกรณ์ (Machine) * ผลผลิตของสมาชิก/สินค้าของสหกรณ์
ุ
- ไม่ม ี
4. ด้านการบริหารการจัดการ(Management) และการด าเนินธุรกิจ(Method)
ิ่
ั
- สหกรณ์ด าเนินธุรกิจ 2 ด้าน ธุรกิจของสหกรณ์ขยายตัวเพมขึ้น ร้อยละ 3.25 ปีก่อนอตราลดลง ร้อยละ
ิ
(13.34) หากพจารณาข้อมูลการท าธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์จะมีธุรกิจที่เพมเทียบกับปีก่อน โดยรายละเอยดการด าเนินธุรกิจ
ิ่
ี
ดังนี้
- ธุรกิจสินเชื่อ สหกรณ์มีปริมาณธุรกิจถึงร้อยละ 81.45 ของข้อมูลธุรกิจรวม ในระหว่างปีสหกรณ์จ่าย
เงินกู้ให้แก่สมาชิก จ านวน 139,479516.00 บาท เฉลี่ยเดือนละ 11,623,293.00 บาท ปีก่อน 138,176,688.00 บาท เพมขึ้นจากปี
ิ่
ก่อน จ านวน 1,303,828.00 บาท วันสิ้นปีสหกรณ์มีลูกหนี้เงินให้กู้ยืมคงเหลือ 299 ราย เป็นเงิน 102,768,451.21 บาท มีรายได้
ดอกเบี้ยเงินให้กู้ คิดเป็นร้อยละ 83.56 ของรายได้ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากการลงทุน
- การรับฝากเงิน สหกรณ์รับฝากเงินระหว่างปีทั้งสิ้น 31,773,220.46 เฉลี่ยเดือนละ 2,647,768.37 บาท วัน
สิ้นปีสหกรณ์มีเงินรับฝากคงเหลือ จ าวน 31,733,220.46 บาท แยกเป็นของสมาชิกจ านวน 40 ราย เป็นเงินจ านวน 1,756,055.13
ื่
บาท เป็นของสหกรณ์อน จ านวน 8 แห่ง เป็นเงินจ านวน 30,017,165.33 บาท มีดอกเบี้ยจ่าย คิดเป็นร้อยละ 16.29 ของรายได้
ดอกเบี้ยและผลตอบแทนจากการลงทุน
ั
ั
- ด้านท าก าไร สหกรณ์มีอตราก าไรสุทธิ ร้อยละ 19.11 ปีก่อนร้อยละ 31.11 มีอตราค่าใช้จ่ายด าเนินงาน
ต่อก าไรก่อนหักค่าใช้จ่ายด าเนินงานร้อยละ 52.32 ปีก่อนร้อยละ 35.59 ก าไรต่อสมาชิกโดยเฉลี่ย 3,673.20 บาทต่อคน ปีก่อน
6,381.97 บาทต่อตน เงินออมสมาชิกโดยเฉลี่ย11,712.61 บาทต่อคน ปีก่อน 11,29.68 บาทต่อคน หนี้สินต่อสมาชิกโดยเฉลี่ย
262,382.83 บาทต่อคน ปีก่อน 275,919.52 บาทต่อคน หากวิเคราะห์ในภาพรวม จะพบว่าสหกรณ์มีอตราก าไรสุทธิลดลงมีอตรา
ั
ั
ค่าใช้จ่ายต่อก าไรก่อนหักค่าใช้จ่ายด าเนินงานสูงขึ้น ก าไรต่อสมาชิก ลดลงเมื่อเทียบกับปีก่อน รวมทั้งเงินออมและหนี้สินสมาชิก
ิ
เพิ่มมากขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อนเช่นเดียวกัน หากพจารณาจากข้อมูลสมาชิกที่มีหนี้สิน จ านวน 299 ราย ขณะที่จ านวนสมาชิกที่มี
เงินออมมีจ านวน 40 ราย ซึ่งมีสัดส่วนของสมาชิกที่มีหนี้สินมากกว่าสมาชิกที่มีเงินออม ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงก าลังความสามารถ
ในการช าระหนี้ในอนาคตของสมาชิก และหากพจารณาจากจ านวนสมาชิก จะเห็นว่ามีจ านวนสมาชิกที่เป็นหนี้มากกว่าสมาชิกที่มี
ิ
การออมเงินในรูปของเงินฝาก ดังนั้นสหกรณ์ต้องมีการประชาสัมพนธ์ให้สมาชิกมีส่วนร่วมในการท าธุรกรรมกับสหกรณ์ทั้งระบบ
ั
ซึ่งเป็นไปตามเจตนารมณ์ของการจัดตั้งสหกรณ์
Template แผนการแนะน าส่งเสริม พัฒนา และก ากับดูแลสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 447